The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอและรหัสพันธุกรรมเพื่อการประยุกต์ใช้ในการวางแผนการอนุรักษ์พันธุกรรมไม้ป่าและนิติวิทยาศาสตร์ไม้ป่าและสัตว์ป่า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by labdna424, 2021-10-25 23:58:27

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอและรหัสพันธุกรรมเพื่อการประยุกต์ใช้ในการวางแผนการอนุรักษ์พันธุกรรมไม้ป่าและนิติวิทยาศาสตร์ไม้ป่าและสัตว์ป่า

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอและรหัสพันธุกรรมเพื่อการประยุกต์ใช้ในการวางแผนการอนุรักษ์พันธุกรรมไม้ป่าและนิติวิทยาศาสตร์ไม้ป่าและสัตว์ป่า

Keywords: Wildlife,Forest tree,Genetic,Forensic,DNA markers,Diversity

131

ผลิตกล้าไม้ไม่ได้ตามเป้าหมาย เพราะเมล็ดกล้าไม้ที่มียีนด้อย (Recessive alleles) ซึ่งเป็นผลมาจากการ
ผสมตัวเอง (Selfing) หรือผสมจากต้นที่มีลักษณะทางพันธุกรรมใกล้ชิดกัน (Inbreeding) จะเป็นเมล็ดลีบ
(Empty seed) และกล้าไม้มีความอ่อนไหวต่อการถูกโรคและแมลงทำลาย ทำให้ตายก่อนนำไปย้ายลงปลกู
ในแปลง ดังพบปญั หาเสมอในการเพาะเมลด็ ไม้สนสองใบ เพราะพบว่ามเี ปอร์เซน็ ตก์ ารงอกต่ำและเมล็ดส่วน
หนึ่งเป็นเมล็ดลีบ (Empty seeds) และมีโรคระบาดระหว่างเตรียมกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ (Changtragoon, 1984;
Sa-ardavut et al., 1988) นอกจากนี้ กล้าไม้ที่นำไปย้ายลงแปลงปลูกจะมีเปอร์เซน็ ต์การรอดตายต่ำ และ
ผลผลติ ก็จะต่ำตามไปด้วยซ่ึงทำใหไ้ มค่ ุ้มกบั เวลาตลอดจนแรงงาน และงบประมาณทีเ่ สยี ไป (Hattemer and
Bergmann, 1987)

แต่ถ้าสามารถคัดเลือกแหล่งของเมล็ดไม้ได้อย่างถูกต้อง คือเลือกแหล่งที่เมล็ดไม้ที่มีค่าอัต ราการ
ผสมตัวเองน้อย ก็จะสามารถผลิตกล้าไม้ที่มีคุณภาพได้เพียงพอต่อการปลูกสร้างสวนป่า และไม่ต้องมีการ
ปลูกซอ่ มบ่อยๆ เพราะสามารถมชี วี ติ อยู่รอดไดย้ นื ยาวแมส้ ภาวะแวดล้อมจะผนั แปรตลอดเวลากต็ าม (ในท่ีน้ี
ไมไ่ ดร้ วมผลกระทบจากการบุกรุกทำลายปา่ และลกั ลอบการตัดไมจ้ ากมนุษย์)

นอกจากน้ีค่า Standard deviation ของอตั ราการผสมตัวเองของไม้สนสองใบจากแต่ละประชากร
มีค่าค่อนข้างสูง แสดงว่าอัตราการผสมตัวเองของไม้แต่ละต้นแม้ในประชากรเดียวกันก็มีค่าต่างกัน ดังนั้น
เวลาเกบ็ เมลด็ ไมส้ นสองใบควรจะเก็บแยกต้นและแยกแหลง่ ไม่ควรเก็บปะปนกัน

ผลของการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมในไม้สะเดาไทยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าการที่จะ
คัดเลือกแหล่งเพื่อเก็บเมล็ดไม้สะเดาไทยเพื่อมาเตรียมกล้าไม้สำหรับการปลูกป่า ควรจะเก็บเมล็ดแยก
แหลง่ ท่มี า ไม่ควรใหเ้ มลด็ ปะปนกัน เพราะความแตกต่างทางพันธุกรรมของแต่ละประชากรของแต่ละจงั หวัด
แตกตา่ งกันอย่างเดน่ ชดั ดงั น้ันในการเตรียมกลา้ ไม้ และการปลูกปา่ ไมส้ ะเดาไทยควรแยกปลูกตามแหลง่ ให้
อย่างถูกต้อง เพื่อประโยชน์ตอ่ การอนุรักษ์แหลง่ พันธุกรรมและรักษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไม้
ชนดิ นีไ้ ว้

ภาพท่ี13.2 การวิเคราะห์ Cluster analysis โดยใช้ Unwieghted pair group method โดยใช้ Nei’s (1978)
Unbiased genetic dstance ใน 3 แหล่ง (ประชากร) ของไม้เสม็ดขาว (Melalecuca cajuputi)
(ท่มี า: สุจติ รา, 2537)

132

ส่วนความแตกตา่ งทางพันธุกรรมของไม้สะเดาไทยในจังหวัดเดียวกันในที่นีค้ ือจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
มีค่าน้อยมาก ดังนั้นควรเลือกเก็บเมล็ดไม้ ที่ใดที่หนึ่งเพื่อเตรียมกล้าไม้ก็พอไม่จำเป็นต้องเก็บทั้งสอง
ประชากร จากจงั หวัดดังกลา่ วหากมงี บประมาณจำกัด

ผลการทดลองในไมเ้ สม็ดขาวคร้ังนีแ้ สดงให้เหน็ ว่า ไม้เสมด็ ขาวแม้ข้ึนในทอ้ งทจี่ ังหวดั เดียวกันแต่ก็มี
ความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างประชากร จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพื้นฐานทางพันธุกรรมและ
วิวัฒนาการของป่าไม้ในแต่ละประชากร เนื่องจากไม้ป่าพรุ ยังอยู่ในระยะเริ่มต้นของโครงการการปรับปรุง
พันธุ์ และอนุรักษ์แหล่งพันธุกรรม หากต้องการเลือกแหล่งเมล็ดไม้ของไม้เสม็ดขาวในจังหวัดนราธิวาส
สำหรับการปลูกป่าเพือ่ อนุรกั ษแ์ หลง่ พันธุกรรมและเป็น Genetic base สำหรับการปรับปรงุ พันธุใ์ นอนาคต
กค็ วรจะเลือกป่าบริเวณเขากำปันเปน็ อันดบั แรก เพราะความหลากหลายทางพนั ธุกรรม สงู กวา่ และมีความ
แตกต่างจากป่าบริเวณอื่นในจังหวัดเดียวกัน การศึกษาคร้ังนี้ได้ประยุกต์ใช้เครื่องหมายไอโซเอนไซม์ยีน
(Isoenzyme gene markers) มาชว่ ยวนิ ิจฉยั พนื้ ฐานทางพันธุกรรมของพันธุ์ไมป้ า่ โดยในท่ีนี้ได้ศึกษาระบบ
สืบพันธุ์ (Mating system ) โดยการศึกษาอัตราการผสมตัวเอง (Selfing rate) ในไม้สนสองใบ (Pinus
merkusii) และความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity) ระหว่างประชากร (Populations)
ของไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้เสม็ดขาว (Melaleuca cajuputi) เพ่ือ
เป็นข้อมูลทางพันธุกรรมของพันธุ์ไม้แต่ละชนิดเป็นการศึกษาในการช่วยพิจารณาและตัดสินใจว่าคว รเลือก
แหล่งของเมลด็ ไม้ที่ใดในการผลิต กลา้ ไมท้ ่มี คี ุณภาพสูง โดยควรคดั เลอื กแหลง่ ของเมล็ดไม้ท่ีมีอัตราการผสม
ตัวเองต่ำ และเลือกแหล่งที่มีความหลากหลายทางพันธกุ รรมสูง เพื่อมาเตรียมการปลูกป่าตามวัตถปุ ระสงค์
ต่างๆ ไม่ว่าเพื่ออนุรักษ์แหล่งพันธุกรรม รักษาความหลากหลายทางพันธุกรรม ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อพัฒนา
สง่ิ แวดล้อมหรอื หวงั ผลเชิงการค้าไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งขึน้
การศึกษาครงั้ นี้แสดงใหเ้ หน็ ถึงความสำคัญของขอ้ มลู พ้นื ฐานทางพันธุกรรมของไม้ปา่ แตล่ ะชนิด ซ่ึงมีพื้นฐาน
ทางพันธุกรรมแตกต่างกันไป ไม่ว่าไม้ต่างชนิดหรือแม้กระทั่งชนดิ เดียวกัน ในแต่ละประชากรหรือท้องที่ก็มี
ความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้างทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับระบบการ
สืบพันธุ์ (Mating system) โครงสร้างทางพันธุกรรม (Genetic structure) และวิวัฒนาการ (Evolutional
history) ของไม้แตล่ ะชนิดและแต่ละแหล่งนน่ั เอง

การตระหนักถึงความสำคัญของข้อมูลทางพันธุกรรมของไม้ป่าแต่ละชนิดและนำข้อมูลดังกล่าวม า
ประกอบการพิจารณาในการวางแผนปลูกป่า ไม่ว่าวัตถุประสงค์ใดๆ ก็จะช่วยให้ได้เมล็ดและกล้าไม้ที่มี
คณุ ภาพ ซ่ึงกจ็ ะทำใหก้ ารปลูกปา่ ในไม้แตล่ ะชนิดไดผ้ ลและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ (สจุ ติ รา, 2537)

133

บทท่ี 14

การพัฒนาดเี อน็ เอบารโ์ ค้ด (DNA barcode) เพอื่ การคมุ้ ครองพนั ธุไ์ มป้ า่ หวงห้ามและ
ไม้ป่าในบญั ชี CITES ในประเทศไทย

คำนำ
ปัจจุบันป่าไม้ในประเทศไทยได้ถูกทำลายเป็นจำนวนมาก จนมีพื้นที่เหลือเพียงประมาณ 31.68%

(สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุพ์ ืช, 2563) โดยเฉพาะไม้ท่ีมคี า่ ซ่ึงบาง
ชนิดเป็นไม้หวงห้าม บางชนิดเป็นไม้ที่อยู่ในบัญชีอนุสัญญา CITES : Convention on International
Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora เพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับการ
บังคับใชก้ ฎหมายทางดา้ นนิติวิทยาศาสตรจ์ ึงต้องมกี ารจัดทำฐานข้อมูลพนั ธกุ รรมพชื ท่ีจำเพาะแต่ละชนดิ เพือ่
ใช้ในการเปรียบเทียบวินิจฉัยชนิดพันธุ์ในการขยายผลการบังคับใช้กฎหมาย เนื่องจากประสบการณ์ในอดีต
เช่น สำนักป้องกันและปราบปรามไฟปา่ หัวหน้าอุทยานแหง่ ชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พุ ชื
และกรมปา่ ไม้ รวมทั้งสถานีตำรวจในทอ้ งท่ีได้มีการรอ้ งขอให้มีการตรวจพิสูจน์เนื้อไมจ้ ากตัวอย่างของกลาง
เนื้อไม้และขี้เลื่อยเพื่อต้องการพิสูจน์ว่า วัตถุของกลางเป็นไม้ชนิดเดียวกันหรือไม่ และวัตถุของกลางเป็นไม้
ชนิดใดเป็นไม้หวงห้ามหรือไม่ซ่ึงของกลางดังกล่าวไม่สามารถพิสูจน์ลักษณะทางสัณฐานและกายภาพใน
รูปแบบที่แตกตา่ งกันไป เช่น ขี้เลื่อย ผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆได้ นอกจากนี้การจำแนกชนิดทางด้านสัณฐาน
วิทยาทำได้ยากโดยเฉพาะไม้ป่าที่มีลักษณะทางกายภาพใกล้เคียงกัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการในการ
จัดทำฐานข้อมูลทางพันธุกรรมที่มีความจำเพาะ (ดีเอ็นเอบาร์โค้ด) ในไม้ที่มีความสำคัญ มีค่าทางเศรษฐกิจ
และไม้หวงห้ามแต่ละชนิด เพื่อเป็นฐานข้อมูลทางด้านพันธุกรรมใช้ในการคุ้มครองและป้องกันตลอดจนใน
การจำแนกชนิดของตัวอย่างของกลางว่าเป็นไม้หวงห้ามและไม้ในบัญชี CITES หรือไม่ ซึ่งสามารถนำมา
ขยายผลไปบังคับใช้กฎหมายได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพในอนาคต (สุจิตรา, 2560) ไม้มีค่าที่เป็น
ไม้หวงห้ามและไม้ที่อยู่ในบัญชี CITES หลายชนิด ได้ถูกลักลอบตัดโดยผิดกฎหมายเป็นจำนวนมาก การ
จัดทำดีเอ็นเอบาร์โค้ดจากไม้ป่าหวงห้ามและไม้ป่าในบัญชี CITES เพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลด้านพันธุกรรม
และใช้ในการจำแนกชนิดพนั ธ์ุและคมุ้ ครองพนั ธุ์ จากการศกึ ษาด้วยสว่ นของคลอโรพลาสต์จโี นม สามารถใช้
ในการจำแนกชนิดของไม้ของกลางที่ถูกลักลอบไดว้ ่าเป็นไม้ที่ผดิ กฎหมายหรือไม่ เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการ
ดำเนินคดี ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรการป้องกันรักษาทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าของกรมอุทยาน
แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในด้านการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ให้สามารถตรวจสอบ
หลักฐานและสถานการณ์ได้รวดเร็ว แม่นยำ เพื่อนำผลการพิสูจน์มาใช้เปน็ หลักฐานการดำเนินคดีได้ ในการ
ตรวจสอบชนดิ พนั ธ์ุของพชื ป่าด้วยขอ้ มลู ด้านดีเอน็ เอ ดังน้นั การจดั ทำดเี อน็ เอบาร์โค้ดเพ่อื เป็นฐานขอ้ มูลด้าน
พนั ธกุ รรมโดยการถอดรหสั พันธกุ รรมทตี่ ำแหน่งของยนี และทไี่ มใ่ ช่ส่วนของยนี ที่จำเพาะของชนดิ พันธน์ุ ้ัน จะ
เป็นการช่วยคุ้มครองพันธุ์และบังคับใช้กฎหมายในการลักลอบตัดไม้ป่าของหวงห้ามและ ไม้ป่าในบัญชี
CITES ในอนาคตได้ เนอื่ งจากพนั ธไ์ุ ม้ปา่ ต่างๆน้นั มีคุณคา่ ทางเศรษฐกิจเป็นอนั มาก ได้มีนำเนอื้ ไม้มาใชใ้ นการ
ก่อสรา้ งอาคารบ้านเรอื นและเครอื่ งใช้ตา่ งๆ นอกจากนัน้ ยังมไี ม้บางชนิดใหป้ ระโยชน์อยา่ งอน่ื ที่สูงกว่าเนื้อไม้

134

เช่น น้ำมัน ชัน หรือให้ผลที่เป็นสมุนไพรใช้แก้โรคติดต่อร้ายแรงบางโรคได้ ดังนั้นทางการจึงต้องป้องกันมิให้
สูญพันธุ์โดยออกพระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 กำหนดไม้บางชนิดให้เป็นไม้หวงห้าม ไม้หวง
ห้ามที่ทางการกำหนดไว้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไม้หวงห้ามประเภท ก. เป็นพันธ์ุไม้ที่ให้เนือ้ ไม้มีคุณภาพดี
ซง่ึ ใช้ในการกอ่ สร้างอาคารบา้ นเรือนไดน้ ัน้ ทางการจะยอมใหต้ ดั ฟนั และชักลากออกมาทำสนิ คา้ ได้ ทั้งนี้ต้องได้รับ
อนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่เสียก่อน ได้กำหนดให้อยู่ในประเภทนี้ มีจำนวนกว่า 250 ชนิด พร้อมทั้งกำหนด
อัตราค่าหลวงไว้ด้วย ตัวอย่าง เช่น ไม้มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
อินทนิล (Lagerstroemia speciosa) อื่นๆ เช่น ตะแบกเปลือกหนา ตะแบกเปลือกบาง เสลา ตะเคียน สนทะเล
เต็งหรือแงะ รังหรือเปา ยางกราด ยางพลวง นอกจากนี้ ในพระราชบัญญัติกฎหมายว่าด้วยการป่าไม้ พ.ศ. 2484
ได้กำหนดว่า ไม้สักและไม้ตระกูลยางไมท้ ้ังสองชนิดนีไ้ ม่ว่าจะขึ้นอยู่ที่ใดก็ตามให้ถือวา่ เป็นไม้หวงห้ามท้ังส้ิน การ
ตดั ฟันใช้สอยจะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เวน้ แต่ในกรณีที่ได้มอบหมาย
ให้เป็นอำนาจของอธิบดีกรม ป่าไม้หรือผู้ว่าราชการจังหวัด (พยงค์, 2550) ไม้หวงห้ามประเภท ข. ได้แก่ พันธุ์ไม้
บางชนิดที่ทางการได้พิจารณาเห็นว่าเป็นไม้ชนดิ ดีมีค่าหายาก หรือ มีคุณค่าพิเศษอย่างอื่น เช่น เปลือกหรือเน้ือ
ไม้มีกลิ่นหอม เป็นสมุนไพรที่หายาก หรือเนื้อไม้มีน้ำมัน หรือชัน ซึ่งใช้ประโยชน์ในการอุตสาหกรรมที่จะหาของ
อื่นมาใชแ้ ทนไมไ่ ด้ หรอื มผี ลทเี่ ป็นสมนุ ไพร ใชแ้ ก้โรคตดิ ต่อรา้ ยแรงบางโรคได้ ทางการจะห้ามมิให้ตัดฟันโค่นล้ม
เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษ พันธุ์ไม้ที่ใช้ยางนำมากลั่นเป็นน้ำมันและชันก็คือ สนเขามีอยู่ด้วยกัน 2
ชนิด คือ สนสองใบ (Pinus merkusii) สนสามใบ (Pinus khasya) ที่มีปริมาณน้อยและหายาก ได้แก่ พญาไม้
(มีอยู่ 3 ชนิด คือ พญามะขามป้อมดง (Podocarpus imbricatus) ขุนไม้ (Podocarpus wallichii) พญาไม้หรือ
ซางจิง (Podocarpus neriifolia)) แปกลม (Colocedrus macrolepis) มะขามปอ้ มดง (Cephalotaxus griffithii)
สามพันปี (Dacrydium elatum) อื่นๆเช่น กฤษณาหรือกระลำพัก หอม หรือ สบ หรือ กะตุก กระเบาใหญ่
มะพอก หรอื ทะลอก หรอื มะมือ่ รกั ใหญ่ (สารานกุ รม, 2523)

DNA barcode เกี่ยวข้องกับผลผลิตของการเพิ่มจำนวน amplicons ในบริเวณที่ต้องการถอดลำดับ
นิวคลีโอไทด์และข้อมูลถอดรหัสพันธุกรรมดังกล่าวจะถูกใช้ในการจำแนกหรือวินิจฉัยว่าชนิดพันธุ์นั้นๆ มีความ
แตกต่างจากชนดิ พันธุอ์ ่นื (Lebonah et al., 2014)

วุฒิพงศ์ (2554) กล่าวว่า DNA barcode เป็นวิธีการทางชีววิทยาระดับโมเลกุลได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ใน
การระบชุ นดิ หรอื กลุ่มของส่ิงมีชีวติ ภายในเวลาอันรวดเร็ววิธีการนี้อาศัยหลักการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ของสาย
ดีเอน็ เอในบริเวณท่ีเรียกวา่ “ดเี อ็นเอมาตรฐาน” จากตัวอยา่ งสง่ิ มชี วี ติ ที่ยังไม่ทราบชอื่ แล้วนำ ลำดับนิวคลโี อไทด์ท่ี
ได้ไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์ของสิ่งมีชีวิตที่ทราบชื่อวิทยาศาสตร์แล้ว บริเวณดีเอ็นเอ
มาตรฐานที่นำมาใช้เปรยี บเทยี บนน้ั อาจเป็นบรเิ วณเดยี วหรือ 2-3 บริเวณ แต่ตอ้ งมีความยาวไม่มากและ เป็น
บริเวณเดียวกับชนิดอื่นๆ ที่ต้องการใช้เปรียบเทยี บกัน วิธีการสร้างระบบ DNA barcode จะช่วยให้ระบุชื่อ
สิ่งมีชีวิตได้จากทุกระยะของการเจริญ รวมถึงในสภาพที่เป็นชิ้นส่วนขนาดเล็ก ทั้งที่เป็นตัวอย่างสดและ
ตัวอย่างท่ีถูกรักษาสภาพไว้ ซึ่งจะเป็นประโยชนอย่างมากต่อนักอนุกรมวิธานและบุคคลทั่วไปที่ไม่มีความ
ชำนาญทางด้านอนุกรมวิธานและ สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับศาสตร์สาขาอื่นได้ เช่น การศึกษาทางด้าน
นเิ วศวิทยาและนิตวิ ทิ ยาศาสตร์

135

มหี ลายประเทศ เชน่ ประเทศจนี ประเทศเเดนมาร์ก ประเทศมาเลเซีย และประเทศอินเดีย เป็นตน้
ไดม้ ีการจดั ทำ DNA barcode ในพืชหลายชนิด เพื่อใช้ในการจำแนกชนิดโดยใชส้ ว่ นของคลอโรพลาสตจ์ โี นม
ที่เป็นทั้งยีน (coding genes) เช่น rbcL matK rpoC1 atpF/H rps4 และที่ไม่ใช่ส่วนของยีน (noncoding
spacers) เช่น trnH-psbA psbK/I ITS2 ndhF-rpl32 trnL trnV-trnM1 trnV-trnM2 trnC-petN trnS-trnG atpB-rbcL
psbM-trnD trnD-trnE trnH-ITS (CBOL Plant Working Group, 200; Cowan et al., 2006; Pennisi, 2007;
Hollingworth et al., 2011; Bhargava and Sharma, 2013; Kress, 2017; Jiao et al., 2018; Yu et al., 2017; Li
et al., 2017; Jiao et al., 2013;Hartvig et al., 2015; Ng et al., 2020 และ Fatima et al., 2019) ดเี อ็นเอบารโ์ คด้
ยังมีประโยชน์ในการตรวจสอบดีเอ็นเอของไม้จากเฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือนและของแต่งบ้านที่ทำจากไม้
หรือไม้ท่อนซุง ไม้แปรรูป เพื่อการส่งออก เพื่อพิสูจน์ว่าเป็นไม้ชนิดใด และเป็นไม้หวงห้ามและอยู่ในบัญชี
แนบท้าย CITES หรือไม่ ซึ่ง ดีเอ็นเอบาร์โค้ดก็ยังสามารถช่วยระบุชนิดได้จากการสกัดสารทางพันธุกรรมที่
หลงเหลืออยู่ในเนื้อไม้ ทั้งนี้ Changtragoon (2011) ได้ริเริ่มจัดทำดีเอ็นเอบาร์โค้ดในไม้ป่าบางชนิดระดับ
เบื้องต้นซึ่งจะต้องมีการดำเนินการต่อไปโดยเฉพาะในไม้ป่าหวงห้ามและไม้ป่าในบัญชี CITES ดังน้ัน
การศึกษาครัง้ นี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1. เพื่อจัดทำดีเอ็นเอบาร์โค้ดของพันธุไมป้ ่าหวงห้ามและไม้ป่าที่อยู่ใน
บัญชี CITES และใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานทางพันธุกรรมในระดับโมเลกุลในการจำแนกชนิดไม้ จากตัวอย่างที่ไม่
สามารถจำแนกทางสัณฐานและกายภาพได้ 2. เพื่อใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดเป็นข้อมูลในการพิสูจน์เชิงนิติ
วิทยาศาสตร์และขยายผลในการบังคับใช้กฎหมายและการป้องกันการลักลอบตัดไม้ในอนาคต 3. เพื่อ
ค้มุ ครองพันธไุ์ ม้ป่าหวงหา้ มและไมป้ ่าที่อยใู่ นบัญชีแนบทา้ ย CITES
วสั ดุและวิธีการศกึ ษาวจิ ยั

เก็บตัวอย่างใบหรือเปลือกไม้ของ ไม้สัก ไม้ตระกูลยาง และพันธุ์ไม้ป่าหวงห้ามตามพระราชกฤษฎีกา พ.ศ.
2530 (พยงค์, 2550) ดังตารางที่ 14.1 และตารางที่ 14.2 พันธุ์ไม้ของไทยที่อยู่ในบัญชี CITES ได้แก่ ไม้พะยูง และ
ไม้กฤษณา จากพื้นที่อนุรักษ์ในประเทศไทยนำมาสกัดดีเอ็นเอตามวิธีที่ประยุกต์มาจากวิธีการสกัดของ (Doyle and
Doyle, 1990) และ (Changtragoon et al., 1996a) แล้วนำมาละลายใน 1X TE buffer (10 mM Tris–HCl, 1 mM
EDTA, pH 8.0) 50-100 ไมโครลิตร เก็บสารละลายดีเอ็นเอไว้ที่ตู้ –20 องศาเซลเซียส วัดคุณภาพและปริมาณของ
สารละลายดเี อ็นเอดว้ ยวธิ อี ะกาโรสเจลอีเลก็ โตรโฟรซิ ีส (agarose gel electrophoresis) โดยใช้อะกาโรสเจลทม่ี คี วาม
เข้มข้น 0.8% และนำแผ่นเจลไปส่องดูภายใต้แสงอัตราไวโอเลต เปรียบเทียบความเข้มข้นกับดีเอ็นเอ
มาตรฐานขนาด 1 kb แล้วบันทึกภาพ แล้วนำดีเอ็นเอทีส่ กัดได้มาเพิ่มปริมาณยนี ด้วยไพรเมอร์ในตำแหนง่ ที่
ศึกษา คือ Maturase K ในตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากหลักการของวิธี Chain termination method ใช้ชุด
Big Dye Terminator v3.1 Cycle Sequencing Kit (Applied Biosystems, USA) โดยทำพซี ีอาร์ซงึ่ จะติดฉลากดว้ ย
ฟลอู อเรสเซนต์ จากนนั้ นำ PCR product ท่ีได้ ไป ทำใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ และนำสารละลายทไ่ี ด้มาวเิ คราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์
โดยใช้เครื่องวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ ABI PRISM® 3100-Avant Genetic Analyzer (Applied Biosystems, USA)
แล้วจึงวิเคราะห์ผลลำดับนิวคลีโอไทด์โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของลำดับนิวคลีโอไทด์ และนำไปจำแนกกลุ่มโดยการ
วิเคราะห์ phylogenetictree โดยใช้โปรแกรมMEGA 4 (Tamura et al., 2007) วธิ ี NeighbourJoiningmethodแบบ Bootstrap.

136

ตารางท่ี 14.1 ไม้ประเภท ก. ไมห้ วงหา้ มธรรมดา ตามพระราชกฤษฎกี า พ.ศ. 2530

ลำดบั ประเภท ก. ไม้หวงหา้ มธรรมดา ชอื่ วิทยาศาสตร์

1 กระเจา กระเชา Holoptelea integrifolia

2 กระโดน ปยุ Careya sphaerica

3 กระถินพิมาน กระถนิ ปา่ แฉลบขาว แฉลบแดง ปมี้ าน Acacia spp

สีเสยี ดแกน่ สเี สียดเหลือง สเี สียดเหนือ สเี สยี ดขีช้ า้ ง

4 กระท้อน สะท้อน ท้อน เตียน มะต้อง มะติ๋น สะทอ้ นนก Sandoricum spp.

5 กระท้อนรอก ทอ้ นรอก หมากมุ่น มะมุน่ มะม่นุ ดง Elaeocarpus spp.

6 กระทุม่ หมู กระทมุ่ ขห้ี มู กระท่มุ นา ตุ้มกวา้ ว Mitragyna spp.

7 กระบก หมากบก มะมืน่ มะลนื่ หลกั กาย lrvingia malayana

8 กระบาก บาก ตะบาก ปกี ช้ามว่ ง ปีงู Anisoptera spp.

9 กระบากดำ มะรนั ตีสะตา Shorea spp.

10 กระเบาลิง กระเบากลัก กระเบียน กระเบาดง หัวลงิ Hydnocarpus spp.

หวั ค่าง ดกู ช้างเบา

11 ก่อ มะก่อ กอ ค้อ Castanopsis spp. Lithocarpus spp. &

Quercus spp.)

12 กะเจยี น ขะเจยี น โมดดง สะบนั งาปา่ ยางอง่ึ ยางโดน Polyalthia spp.

ยางโอน

13 กะทังหนั กระทงิ กงั หัน ตงั หนั ตงั หน พะอง ชวด Calophyllum spp.

สารภีทะเล สารภแี นน เนาวกาน ตางอ ตาหงอ

14 กดั ลนิ้ ขี้อ้าย มะเฟอื งปา่ แกว้ สาร ลำไยปา่ พญาไกเ่ ถ่ือน Walsura spp.

15 กันเกรา ตำเสา มนั ปลา Fagraea fragrans Roxb.

16 กา้ นตอง ก้านทอง ขนั ทอง เปรียง Swintonia spp.

17 ก้านเหลอื ง สะแกเหลือง ตุ้มคำ ขม้ินทอง มนิ ตอง Nauclea spp.

18 กาลอ Shorea faguetiana

19 กำลงั เสือโครง่ Betula alnoides

20 กกุ๊ กอกก๋นั อ้อยชา้ ง Lannea coromandelica

21 กหุ ลิม กระเทียมต้น Scorodocarpus borneensis

22 เกด Manikara hexandra

23 เกล็ดลิน่ คอแลน คอเหยี้ พรวน ตะกวดรอ้ งไห้ แลน Xerospermum spp.

บาน แลนงอ้ แลนวา แลนไห้

24 เกวา้ ขวา้ ว กาว กวา้ ว ตองเหลอื ง ขมิ้นตน้ Haldina cordifolia, Metadenia spp.

25 แกแล เข เหลือง แกล Maclura cochinchinensis

26 โกงกาง พงั กา ลาน โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ Rhizophora spp.

ท่ีมา: พระราชกฤษฎกี า กำหนดไม้หวงหา้ ม, 2530

137

ตารางที่ 14.1 (ตอ่ )

ลำดับ ประเภท ก. ไม้หวงหา้ มธรรมดา ชอื่ วทิ ยาศาสตร์

27 ไกรทอง เจตมลู เจด็ หมุน เข็ดมลู แกน่ แดง Erythroxylum cuneatum

28 ขนาน จำปีแขก ลำปา้ ง ตากวาง หำมา้ หำฮอก Pterospermum spp.

กะนวล ขะนวล สากกะเท้า สนานดง สรอ้ ยพา้ ว ขา้ ว

ตาก จา้ หลอด หำรอก ตองม่อม หำอาว

29 ขนุนปาน ขนนุ ป่า มะหาด หาด หาดหนุน ไสน หาดสา้ น Artocarpus spp.

ตาปัง ตังเก ไฉน กะเอาะ เอาะ ออก มะออก

30 ขม้ินดำ ไขเ่ ขียว ไขไ่ กเ่ ขียว ปาด เขียว โดแหลม ตะเคียน Parashorea spp.

ซวย สว่ ย เบ้เขยี ง ชานอ้อย พมุ่ เขียว ปาดหลงั เขยี ว

31 ขะเจ๊าะ สาธร คำแมบ คะแมด จน่ั คา่ ขี้หมู ขีห้ มู แซะ Millettia spp.

กาแซะ กะแซะ

32 ขะไต๋ ดู่ชา้ งยอ้ ย กะไต๋ หมาเหนยี ว ลูบลบี Ulmus lancifolia

33 ขี้เหลก็ ป่า แสมสาร ข้ีเหล็กสาร ขี้เหล็กแพะ ขเี้ หล็กโคก Cassia garrettiana

34 เขลง หมากเค็ง หยี นางดำ กายี Dialium spp.

35 ค่าหด ดกู เนา่ Engelhardtia spp.

36 คาง คางแดง มะขามป่า มะขามผี พฤกษ์ ปันแถ ถ่อน Albizia spp.

ท้ิงถ่อน มะขามโคก

37 ค้างคาว ตะพนุ กะพนุ สะพุน ลางสาดเขา Aglaia spp.

38 คูน ลมแล้ง ชัยพฤกษ์ ราชพฤกษ์ Cassia fistula

39 เค่ยี ม Cotylelobium melanoxylon

40 เคีย่ มคนอง Shorea henryana

41 แคหนิ แคฝอย แคหวาย แคก้อง แคสี แคยอดดำ แคเขา Stereospermum spp.

แคทราย ฮงั แฮ้ง

42 เงาะป่า หมกั แวว Nephelium spp.

43 จันทน์ดง จันทน์ปา่ Myristica spp.

44 จันทรท์ อง Fraxinus floribunda

45 จำปีปา่ จำปาซ้อน จำปา จำปาป่า จำปากอ Manglietia spp. Michelia spp. &

Aromadendron spp.

46 จกิ นม จกิ เขา ยางมะซาง ยางขนุนนก นาสี ศรกี ระบ่ี Palaquium spp. & Aesandra

krabiensis

47 เฉยี งพร้านางแอ เขียงพร้านางแอ คอแห้ง บงนงั่ บง Carallia brachiata

มนั สฟี ันนางแอ สันพร้านางแอ

48 ชะนูดต้น ชะนูด นูดตน้ แตงชง่ั Prunus spp.

ท่มี า: พระราชกฤษฎกี า กำหนดไมห้ วงหา้ ม, 2530

138

ตารางที่ 14.1 (ตอ่ )

ลำดบั ประเภท ก. ไม้หวงหา้ มธรรมดา ชื่อวิทยาศาสตร์

49 ชนั ชันตก เต็งดง เตง็ ตานี ฮาว ยางหมอก Shorea thorelii

50 ชันพู่ ตะเคยี น เคียน แคน ตะเคยี นทอง ตะเคยี นใหญ่ Hopea spp.

ตะเคียนจง ตะเคยี นไพร ตะเคยี นขน ตะเคียนเขา

หงอนไกห่ ลังขาว หลงั ขาว กระบกกรัง ตะเคียนหิน

เหลาเตา อีแรต ตะเคยี นราก

51 ชาเรยี น ทเุ รยี นปา่ ทเุ รยี นนก Durio spp.

52 ชา้ งแหก ช้างแฮะ ชา้ งไห้ ทเุ รียนผี Neesia spp.

53 ชิงชนั เกด็ แดง อเี ม่ง พะยุงแกลบ กระพี้ แดงจีน ขะ Dalbergia spp.

ยงุ ซกิ กระซกิ กระซบิ พะยงู หมากพลูตกั๊ แตน

กระพ้เี ขาควาย เกด็ ดำ อเี ฒ่า เกด็ เขาควาย

54 ชุมแพรก เสยี ดช่อ หงอนไก่ หงอนไกข่ าว หงอนไกท่ ะเล Heritiera spp.

ไขค่ วาย ดหุ นุ

55 ชมุ แสง Xanthophyllum spp.

56 ซ้อ ซ้องแมว รม่ ม้า สนั ปลาซอ่ น Gmelina arborea

57 ซาก คราก สาตร พนั ชาด พันซาด Erythrophleum spp.

58 แดง สกรอม Xylia spp.

59 แดงนำ้ Acrocarpus fraxinifolius

60 แดงแสม แดงสะแหง แดงดง แดงเหนียว Schoutenia spp.

61 ตะครอ้ เคาะ โจก้ มะเคาะโจก้ Schleichera olcosa

62 ตะครำ้ คำ้ หวดี Garuga pinnata

63 ตะเคยี นชนั ตาแมว ตะเคียนชนั Balanocarpus heimii

64 ตะเคียนทราย ซวย คันหอกตะเคียนหอกตะเคยี นสามพอน Shorea gratissima

65 ตะเคียนหนู เหว เบน ข้หี มากเปยี ก Anogeissus acuminata

66 ตะบนู ตะบนั Xylocarpus spp.

67 ตะแบก เปือ๋ ย เกรียบ เสลา อินทนลิ Lagerstroemia spp.

68 ตะแบกกราย ตะแบกเลอื ด เป๋ือยเลือด มะเกลือเลือด Terminalia spp.

ปเู่ จ้า หามกราย หนามกราย หอมกราย มะขามกราย

แสนคำ รกฟ้า ฮกฟ้า เชอื ก สมอพเิ ภก สมอไทย สมอ

ดีงู สมอรัด สมอแหน มะนะ สมอชด อู่ชด

69 ตาเสือ มะอ้า มะหา่ งก่าน มะอา้ แดง มะอ้ายาง Amoora spp.

70 ตานเสย้ี น นมฤาษี โพสัย โพอาศยั Planchonella spp.

71 ตวิ้ แตว้ ติว้ ส้ม โงงงัง Cratoxylum spp.

ทมี่ า: พระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงห้าม, 2530

139

ตารางท่ี 14.1 (ต่อ)

ลำดบั ประเภท ก. ไม้หวงหา้ มธรรมดา ชอื่ วทิ ยาศาสตร์
72 ตีนนก นน สมอนน สวอง ผา่ เส้ียน กาสามปกี สะพุนทอง Vitex spp.
73 ตนี เปด็ พญาสตั บรรณ สตั บรรณ เทียะ ทุ้งฟา้ กระทงุ้ ฟ้า Alstonia spp.

ตีนเปด็ พรุ Duabanga grandiflora
74 ตมุ้ เต๋น ตมุ้ ลาง อา้ คอเหนียง สะบนั งาชา้ ง ปกี อ้า
Shorea obtuse S.siamensis
ลำพปู ่า ลำแพนเขา Pentacme suavis
75 เต็ง แงะ จิก รัง ฮงั เปา Pentaspadon velutinus
Bischofia javanica
76 เตยนะ เตยหนาม หนาม Ganua spp.
77 เติม ประดสู่ ม้ Koompassia spp.
78 เตยี ว สะเตียว Litsea spp.
79 ทองบ้งึ ทอ้ งบงึ้ ยวน อีแปะ
80 ทงั ทงั เขา หมเี หมน็ ตานหก ตันหก ทำมัง กะทงั ใบ Cinnamomum porrectum
C.parthenoxylon & C. ilicioides
ใหญ่ ทังใบใหญ่ C. siamense
81 เทพทาโร จวง จวงหอม การบรู ตน้ ข่าต้น ตะไครต้ น้ Peltophorum spp
Antiaris toxicaria
พลตู ้น สมลุ แวง้ Platymitra siamensis, Cyathocalyx
martabanicus
82 นนทรี ทำเลง อะราง กระถินแดง Persea spp.
83 น่อง ยางนอ่ ง Mesua spp
84 นางเลว หวั ช้าง หำชา้ ง กลว้ ย มะกลว้ ย สาแหรก Pterocarpus spp
Bruguiera spp
85 บง ยางบง หม่ี ไก๋
86 บนุ นาค นากบดุ Alangium salviifolium
87 ประดู่ ดู่ Kydia calycina
88 ประสกั ประสักขาว พังกาหัวสมุ ประสักแดง ขลัก Brownlowia helferiana
Ceriops spp
ถัว่ ขาว รุ่ย รังกะได ถ่ัวดำ Canaga spp.
89 ปรู ปรู๋ Endospermum diadenum
90 ปอเลยี ง ปอเลยี งฝ้าย Lumnitzera spp.
91 โปง อีโปง
92 โปรง โพรง
93 เผิง เนา สะแกแสง กระดงั งาไทย กระดังงาใบใหญ่
94 ฝาหมอ้ ฝาละมี ตะพง เบื้องถว้ ย เบ้อื งไท
95 ฝาด ตำเสาหนู เมา่ ทะเล

ที่มา: พระราชกฤษฎกี า กำหนดไม้หวงหา้ ม, 2530

140

ตารางท่ี 14.1 (ต่อ)

ลำดบั ประเภท ก. ไม้หวงหา้ มธรรมดา ช่ือวิทยาศาสตร์

96 พญาไม้ ขนุ ไม้ Podocapus spp.

97 พนอง เช่อื ม Shorea hypochra

98 พรมคต บงคต ขวัญข้าว เหมอื ดคน Helicia spp.

99 พระเจ้าหา้ พระองค์ Dracontomelon mangiferum

100 พลวง ตึง กุง เหียง กราด สะแบง ชาด Dipterocarpus spp.

101 พลอง พลองกนิ ลูก Memecylon ovatum

102 พลบั มะพลับ ดำดง สงั ทำ เนียน ตะโก ดำ นางดำ Diospyros spp.

ไหม้ น่งั จอ้ ย จัน ลำบดิ กลว้ ยฤาษี เฮอ้ื นกวาง ตาน

ดำ กาจะ มะเกลือ มะริด ถ่านไฟผี เม่าเหล็ก ตะโก

พนม สาวดำ รเิ ภา รบิ ู

103 พะยอม ยอม ขะยอม พะยอมดง Shorea spp.

104 พะวา ละวา วา ปอ้ ง มะปอ่ งต้น มงั คดุ ปา่ ขวาด Garcinia spp.

ขวากเหลอื ง ชะมวง ส้มมวง โมง หมากโมง มะดันป่า

105 พันจำ สะเดาปกั สกั นำ้ สกั ทะเล จันทน์กะพ้อ ซี ดำด่าง Vatica spp.

106 พันตนั พนั ตาล มังตาล ทงั คาย คา่ ยโซ่ ทะโล้ Schima wallichii

107 พิกุลปา่ พกิ ุล พกิ ลุ เขา กนุ ขากุน ตรน Mimusops spp. & Payena spp.

108 พุด พดุ หนอง ข่อยหนิ ขอ่ ยด่าน ไขเ่ นา่ รักนา คม Gardenia spp.

ขวาน กระมอบ คำมอกหลวง

109 ไพ ลไิ พ มะกล่ำต้น มะกลำ่ ตาช้าง มะโหกแดง Adenanthera spp.

110 มะเกิม้ มะเหลยี่ ม มะกอกเหลย่ี ม มะจมิ้ มะกอกเลอื ด Canarium spp.

มะกอกเกล้อื น มะเล่อื ม มะกอกเลอื่ ม

111 มะค่าแต้ มะค่าลงิ มะคา่ หนาม กล้ิง อ้ายกลง้ิ Sindora spp.

112 มะคา่ โมง มะค่าใหญ่ มะค่าดง เบง Afzelia xylocarpa

113 มะคำไก่ เทยี นขโมย สองกระดอง Drypetes spp.

114 มะซาง ซาง หนามซาง ละมดุ สีดา Madhuca spp.

115 มะแฟน หมากแฟน แทน กะตีบ Protium serratum

116 มะม่วงปา่ ทกุ ชนดิ Mangifera spp.

117 มังคะ มังคาก Cynometra spp.

118 เม่ียงอาน สอม กะอาม กระทงลอย Crypteronia spp.

119 โมกมนั โมกน้อย มกู น้อย Wrightia tomentosa

120 โมกหลวง โมกใหญ่ มูกหลวง ยางพดุ Holarrhena antidysenterica

121 ยมหอม สเุ หรยี น Toona spp. Cedrela spp.

ทมี่ า: พระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงหา้ ม, 2530

141

ตารางที่ 14.1 (ตอ่ )

ลำดับ ประเภท ก. ไม้หวงห้ามธรรมดา ช่อื วทิ ยาศาสตร์
122 ยมหิน มะยมหิน สะเดาช้าง สะเดาหนิ Chukrasia spp.
123 ยงู อโี ต้ Dipterocarpus spp.
124 รัก ฮกั รักใหญ่ Melanorrhoea spp.
125 รกั เขา Semecarpus spp.
126 รากเหลือง ฮากเหลือง Kokoona spp.
127 ราชครูดำ Goniothalamus macrophyllus
128 รายา สะระยา สยาแดง Shorea curtisii
129 แร้ แหร แหรช่อ Dehaasia spp.
130 เลยี ง เลยี งมนั ไย ไยดา้ ย Berrya spp.
131 เล่ยี น แก่งแหง้ Melia spp.
132 เลือดควาย เลือดมา้ สซี วง Knema spp.
133 สงแก สงั แก เขยหลาย Peronema canescens
134 สนเขา สน เกยี๊ ะ จ๋วง ไต้ แปก Pinus spp.
135 สนสามพนั ปี สนสร้อย สนพางกระรอก Dacrydium elatum
136 สบ ปรก หอม Altingia spp.
137 สมพง สมพงุ กะปงุ กะพง งนุ้ Tetrameles nudiflora
138 สยาขาว สยาเหลือง สยา มารนั ตี เมอรนั ตี Shorea leprosula & S. parvifolia
139 สองสลงึ ยายบู่ เสมด็ ทุง่ Lophopetalum spp.
140 สะเดา สะเลยี ม กะเดา เดา เทียม Azadirachta indica
141 สะทติ ตาทติ สะทบิ ทอง คางคก สะทิบ สไิ หรคางคก Phoebe spp.
142 สกั ข้ีไก่ กะเบยี ด เบียด Premna tomentosa. & P.pyramidata
143 ส้าน แส้น มะส้าน มะตาด Dillenia spp.
144 สาย กาสาย แสนตาลอ้ ม Pometia spp.
145 สารภีป่า สารภี มะนาวก๋าน Mammea spp.
146 สเี สยี ดเปลอื ก ทองสกุ หนานหิน เลอื กนก Pentace spp.
147 สเี สื้อ ผเี สื้อหลวง Casearia spp.
148 หมักม่อื ทะลอก มะพอก มะคลอก พอก ตะโลก เหลอะ Parinari anamense
149 หลันตนั กะลนั ตัน ตะเคียนใบปด ยางดำ Shorea guiso
150 หลุมพอ สลุมพอ กะลมุ พอ หลมุ พอทะเล หลมุ พอเลอื ด Intsia spp.
151 หวา้ มะห้า หา้ แดงควน แดงเขา เมา ชมพู Eugenia spp.
152 หัวเต่า ขผี้ ้งึ Donella lanceolata Chrysophyllum
roxburghii
ที่มา: พระราชกฤษฎกี า กำหนดไม้หวงหา้ ม, 2530

142

ตารางท่ี 14.1 (ต่อ)

ลำดบั ประเภท ก. ไมห้ วงห้ามธรรมดา ชือ่ วิทยาศาสตร์
153 หวั แมงวัน มะมว่ งหัวแมลงวนั มะมว่ งแมงวัน Buchanania spp.
154 เหรียง เรยี ง กะเหรยี่ ง สะตอ ลูกดงิ่ Parkia spp.
155 อบเชย ฮางแกง ฮังไก๊ เชียด กะเชยี ด มหาปราบ Cinnamomum spp.
156 เอียน เอย้ี น Neolitsea zeylanica
157 แอ๊ก Shorea glauca
158 โอบ ขานาง เปลอื ย เปื๋อยนาง กะปิ ขา้ วสาร ดหี มี Homalium spp.

หมากดูก ตะเคียนเผือก

ทีม่ า: พระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงห้าม, 2530

ตารางที่ 14.2 ไมป้ ระเภท ข. ไมห้ วงห้ามพเิ ศษ

ลำดับ ประเภท ข. ไม้หวงห้ามพเิ ศษ ช่ือวิทยาศาสตร์

1 กระเบา กระเบานำ้ กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus

2 กำจัดตน้ มะแข่น แขว่น มะขว่ ง ลกู ระมาศ Zanthoxylum spp.

3 กำยาน Styrax spp.

4 จนั ทนช์ ะมด Aglaia pyramidata

5 จนั ทน์หอม Mansonia gagei

6 จันทนา จันทนข์ าว Tarenna hoaensis

7 ตนี เป็ดแดง เยลตู ง Dyera costulata

8 ประ กระ Elateriospermum tapos

9 รง รงทอง Garcinia acuminata & G.hanburyi

10 สนแผง สนใบตอ่ แบกลม Calocedrus macrolepis

11 สำรอง พุงทะลาย ทา้ ยเภา Scaphium spp.

12 แสลงใจ แสลงโทน แสลงทม แสลงเบ่ือ แสงเบอ่ื มะต่งึ Strychnos spp.

ตงึ่ ตน้ บงึ กา ตูมกา ต่ึง ตูมกาขาว

13 แหลง แสลง ยวนผ้งึ ผงึ้ ลุง Ficus albipila

ท่ีมา: พระราชกฤษฎกี า กำหนดไมห้ วงห้าม, 2530

143

ผลการศึกษาวิจยั
จากการเพ่มิ ปรมิ าณช้ินดเี อ็นเอของตวั อย่างพันธไ์ุ ม้ปา่ หวงห้ามและไม้ปา่ ในบัญชี CITES ในประเทศ

ไทย ด้วยคลอโรพลาสจีโนม 3 ตำแหน่ง คือ Maturase K, RBCL (Ribulose Bisphosphate Carboxylase
large chain) และ trnH-psbA (intergenic spacer) มีความยาวนิวคลีโอไทด์ 550 bp 450 bp และ
1,000bp พบวา่ ตำแหน่ง Maturase K จำนวน 168 ตัวอย่าง สามารถจำแนกออกได้เปน็ 45 วงศ์ (families)
90 สกุล (Genus) 126 ชนิด (speices) ดังภาพท่ี 14.1 ตำแหน่ง RBCL จำนวน 278 ตัวอย่าง สามารถ
จำแนกออกได้เป็น 55 วงศ์ 100 สกุล 161 ชนิดดังภาพที่ 14.2 และ ตำแหน่ง trnH-psbA จำนวน 133
ตัวอย่าง สามารถจำแนกออกได้เปน็ 42 วงศ์ 75 สกุล 96 ชนิด ดังภาพท่ี 14.3 ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ทั้ง 3
ตำแหน่ง สามารถจำแนกออกได้เป็น 65 วงศ์ 140 สกุล 214 ชนิด รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 14.3
นอกจากนี้ พบว่ามี 52 ตัวอย่าง ที่เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอได้ทั้ง 3 ตำแหน่ง ซึ่งจากการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์
สามารถจำแนกออกได้เป็น 19 วงศ์ 34 สกุล 47 ชนิด ดังภาพท่ี 14.4 และแสดงรายละเอียดการจำแนกดงั
ตารางท่ี 14.3 ส่วนความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมโดยการวเิ คราะห์ phylogenetic tree โดยวธิ ี UPGMA

144
ภาพท่ี 14.1 แสดงความสมั พันธท์ างพันธกุ รรมของพันธ์ไุ มป้ า่ หวงหา้ มและไมป้ ่าในบญั ชี CITES ในตำแหนง่ Maturase K

145
ภาพท่ี 14.2 แสดงความสมั พนั ธท์ างพนั ธกุ รรมของพันธไ์ุ มป้ า่ หวงห้ามและไมป้ ่าในบัญชี CITES ในตำแหนง่ RBCL

146
ภาพท่ี 14.3 แสดงความสมั พันธท์ างพันธกุ รรมของพันธ์ไุ มป้ า่ หวงหา้ มและไมป้ ่าในบญั ชี CITES ในตำแหนง่ trnH-psbA

147

ภาพท่ี 14.4 แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพันธุ์ไม้ป่าหวงห้ามและไม้ป่าในบัญชี CITES ใน 3
ตำแหนง่ คือ Maturase K + RBCL + trnH-psbA

148

ตารางท่ี 14.3 ตารางแสดงผลการถอดรหัสลำดบั นวิ คลีโอไทด์ในพันธไ์ุ ม้ปา่ หวงห้ามและไม้ปา่ ในบัญชี CITES
ในประเทศไทย โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ 3 ตำแหนง่ ไดแ้ ก่ Maturase K, rbcl (Ribulose
Bisphosphate Carboxylase large chain) และ trnH-psbA (intergenic spacer)

ลำดบั วงศ์ ชอ่ื พฤกษศาสตร์ ช่อื พน้ื เมอื ง
1 ACANTHACEAE
Acanthus ilicifolius เหงอื กปลาหมอทะเล
2 ACHARIACEAE
Avicennia alba แสมขาว
3 ANACARDIACEAE
Avicennia marina แสมทะเล
4 ANNONACEAE Avicennia officinalis แสมดำ
Hydnocarpus calvipetalus กระเบา
5 APOCYNACEAE
Hydnocarpus castaneas กระเบาใหญ่
6 AQUIFOLIACEAE
7 ASPARAGACEAE Buchanania arborescens ยาร่วงพรุ
8 BIGNONIACEAE Canaga odorata กระดงั งาไทย
9 BURSERACEAE Dracontomelon dao พระเจา้ ห้าพระองค์
10 CALOPHYLLACEAE Mangifera gedebe มะม่วงปาน
11 CASUARINACEAE
12 CHRYSOBALANACEAE Mangifera lagenifera มะม่วงป่า
13 COMBRETACEAE
14 CORNACEAE Semecarpus curtisii รกั ป่า
Canaga odorata กระดงั งาไทย
Goniothalamus laoticus ข้าวหลามดง
Melodorum fruticosum ลำดวน
Polyalthia viridi ยางโอน
Alstonia macrophylla ทงุ้ ฟ้า
Alstonia scholaris พญาสัตบรรณ/ สตั บรรณ/ ตนี เป็ดดำ
Cerbera odollam ตนี เปด็ ทะเล
Holarrhena pubescens โมกหลวง
Wrightia arborea โมกมัน
Ilex confertiflora เมด็ ทบั ทิม
Dracaena cochinchinensis จนั ทรแ์ ดง
Mayodendron igneum กาสะลองคำ
Stereospermum fimbriatum แคยอดดำ
Canarium denticulatum แลนบาน
Canarium subulatum มะกอกเลอ่ื ม
Calophyllum inophyllum สารภที ะเล
Mammea siamensis สารภี
Mesua ferrea บนุ นาค
Casuarina equisetifolia สนทะเล
Parinari anamensis มะพอก
Terminalia alata รกฟา้
Terminalia citrina สมอดงี ู
Alangium kurzii ฝาละมี

ลำดบั วงศ์ ช่อื พฤกษศาสตร์ 149
15 CUPRESSACEAE
16 CYPERACEAE Calocedrus macrolepis ชื่อพน้ื เมอื ง
17 DILLENIACEAE Mapania cuspidata สนแผง
Dillenia excelsa ใบเตย
18 DIPTEROCARPACEAE Dillenia indica สา้ นดำ
Dillenia scabrella มะตาด
19 EBENACEAE ส้าน
Anisoptera costata
20 ELAEOCARPACEAE กระบาก
21 EUPHORBIACEAE Cotylelobium melanoxylon
22 FABACEAE Dipterocarpus alatus เคยี่ ม
Dipterocarpus intricatus ยางนา
Dipterocarpus kerrii กราด
Dipterocarpus obtusifolius ยางมันหมู
Hopea pierrei เหยี ง
Hopea odorata ตะเคยี นราก
Shorea gratissima ตะเคียนทอง
Shorea hypochra เคียนทราย
Shorea laevis พนอง
Shorea obtuse ตะเคยี นสามพอน
Shorea robusta เต็ง
Shorea roxburghii สาละ
Shorea siamensis พะยอม
Vatica diospyroides รัง
Vatica odorata จนั ทน์กะพอ้
Diospyros areolata พนั จำ
Diospyros castanea มะพลบั
Diospyros decandra ตานดำ
Diospyros frutescens จนั
Diospyros glandulosa พลับกลว้ ย
Diospyros hasseltii กลว้ ยฤาษี
Diospyros malabarica ตะโก
Diospyros mollis พลับปา่
Diospyros montana มะเกลอื
Diospyros undulata ถ่านไฟผี
Diospyros var.toposioides หม้าย
Diospyros wallichii เม่าเหล็ก
Elaeocarpus tectorius ดำตะโก
Elaeocarpus rugosus สะทอ้ นรอก
Cleidion javanicum กระท้อนรอก
Endospermum diadenum ดีหมี
Adenanthera pavonina ฝาละมี
มะกลำ่ ตน้

150 วงศ์ ช่อื พฤกษศาสตร์ ชือ่ พืน้ เมอื ง

ลำดบั Afzelia xylocarpa มะคา่ โมง
Albizia saman จามจรุ ี
23 FAGACEAE Archidendron ellipticum เกล็ดจรเข้
Callerya atropurpurea แซะ
24 GENTIANACEAE Cassia bakeriana กลั ปพฤกษ์
25 GUTTIFERACEAE Cassia fistula ราชพฤกษ์/ คณู
Cynometra malaccensis มังคาก
26 HYPERICACEAE Dalbergia assamica เก็ดดำ
27 ICACINACEAE
28 IRVINGIACEAE Dalbergia cochinchinensis พะยูง
29 LABIATAE
Dalbergia oliveri ชิงชัน/ เก็ดแดง
Dalbergia parviflora กระซิก
Dalbergia sissoo ประดู่แขก
Intsia palembanica หลมุ พอ
Millettia leucantha สาธร
Parkia speciosa สะตอ
Peltophorum dasyrachis อะราง
Peltophorum pterocarpum นนทรปี า่
Phyllocarpus septentrionalis ประดแู่ ดง
Pterocarpus indicus ประด่บู ้าน
Pterocarpus macrocarpus ประดู่
Sindora siamensis มะค่าแต้
Xylia xylocarpa แดง
Tamarindus indica มะขาม
Castanopsis acuminatissima กอ่ เดอื ย
Castanopsis costata กอ่ รว้ิ
Castanopsis inermis ก่อข้าว
Lithocarpus fenestratus ก่อพวง
Lithocarpus vestitus ก่อขีห้ มู
Quercus kingiana กอ่ แดง
Fagraea fragrans กันเกรา
Garcinia atroviridis ชะมวงชา้ ง
Garcinia cowa ชะมวง
Garcinia eugenifolia นวลดอกขาว
Cratoxylum cochinchinense ตว้ิ เกลย้ี ง
Cratoxylum maingayi ติว้ ขน,แต้ว
Apodytes dimidiata หมักฟกั ดง
Platea latifolia มนั หมู
Irvingia malayana กระบก
Tectona grandis สัก

ลำดบั วงศ์ ชื่อพฤกษศาสตร์ 151
30 LAMIACEAE
Tectona hamiltoniana ชื่อพน้ื เมือง
31 LAURACEAE Tectona philippinensis
32 LECYTHIDACEAE Gmelina arborea สักพม่า
33 LYTHERACEAE Vitex glabrata สกั ฟลิ ิปนิ ส์
34 MAGNOLIACEAE Vitex pinnata ซ้อ
35 MALVACEAE Beilschmiedia globularia ไขเ่ น่า
36 MELIACEAE Cinnamomum bejolghota ตนี นก
Cinnamomum camphora มะเขอื ขน่ื
Cinnamomum ilicioides อบเชย
Cinnamomum iners การบรู
Cinnamomum parthenoxylon ตะไคร้ต้น
Cinnamomum verum เชยี ด
Litsea glutinosa เทพทาโร
Neolitsea siamensis อบเชยเทศ
Neolitsea zeylanica หมีเหม็น
Phoebe lanceolata ตาทิบ
Barringtonia acutangula เอยี น
Careya arborea แหลบุก
Lagerstroemia calyculata จกิ น้ำ
Lagerstroemia cuspidata กระโดน
Lagerstroemia speciosa ตะแบกแดง
Sonneratia alba ตะแบก
Sonneratia caseolaris อินทนลิ นำ้
Magnolia baillonii ลำแพน
Magnolia champaca ลำพู
Magnolia sirindhorniae จำปีปา่
Magnolia thailandica จำปา
Michelia alba จำปีสริ นิ ธร
Heritiera littoralis จำปีศรเี มืองไทย
Heritiera macrophylla จำปี
Heritiera sumatrana หงอนไกท่ ะเล
Hibiscus macrophyllus หงอนไก่ใบใหญ่
Neesia altissima เสียดชอ่
Pterospermum diversiolium ปอจง (ปอหู)
Pterospermum jackianum ทุเรยี นผี
Aglaia cucullata ลำปา้ ง
Aglaia grandis พลากวาง
Azadirachta indica แดงนำ้ (แสมแดง)
Chisocheton cumingianus ลางสาดป่า
สะเดา
ยมมะกอก

152 วงศ์ ชือ่ พฤกษศาสตร์ ชอ่ื พน้ื เมือง

ลำดบั Chukrasia tabularis ยมหนิ
Lansium parasiticum ลางสาดเขา
37 MORACEAE Toona ciliata ยมหอม
38 MYRISTICACEAE Xylocarpus granatum ตะบนู ขาว
Xylocarpus moluccensis ตะบนู ดำ/ตะบนั
39 MYRTACEAE Artocarpus thailandicus มะหาด
Ficus benjamina ไทรยอ้ ย
40 NEPENTHACEAE Horsfieldia amygdalina เลอื ดนก
41 OCHANCEAE Knema globularia เลอื ดมา้
42 OLEACEAE Syzygium nervosa หว้าเขา
43 PENTAPHYLACACEAE Syzygium claviflora หว้าหนิ
Syzygium cumini หว้า
PHYLLANTHACEAE Syzygium siamense ชมพูน่ ้ำ
44 PINACEAE Nepenthes mirabilis หม้อขา้ วหมอ้ แกงลงิ
45 POACEAE Ochna integerrima ช้างน้าว
46 PODOCARPACEAE Chionanthus ramiflorus อวบดำ
47 POLYGALACEAE Fraxinus floribunda จนั ทร์ทอง
48 PRIMULACEAE Adinandra integerrima พกิ ุลป่า
Eurya acuminata ปลายสาน
49 RHIZOPHORACEAE Phyllanthus emblica มะขามป้อม
Pinus kesiya สนสามใบ
50 ROSACEAE Pinus merkusii สนสองใบ
51 RUBIACEAE Dendrocalamus pendulus ไผ่นวล
Dacrydium elatum สามพันปี
Podocarpus neriifolius พญาไม้
Xanthophyllum virens ขางขาว
Coccoloba uvifera องนุ่ ทะเล
Ardisia nervosa กาลังกาสาตวั ผู้
Bruguiera cylindrica ถว่ั ขาว
Bruguiera gymnorrhiza พงั กาหวั สุมดอกแดง
Bruguiera parviflora ถวั่ ดำ
Carallia brachiata เฉียงพร้านางแอ
Ceriops decandra โปรงขาว
Ceriops tagal โปรงแดง
Ceriops zippeliana โปรงทอง
Prunus cerasoides นางพญาเสอื โคร่ง
Canthium parvifolium หนามมะเค็ด
Gardenia sootepensis คำมอกหลวง
Morinda coreia ยอป่า

153

ลำดบั วงศ์ ช่อื พฤกษศาสตร์ ช่อื พ้นื เมอื ง
52 RUBIACEAE
53 RUTACEAE Ochreinauclea maingayi กระทมุ่ นำ้
54 SALICACEAE Acronychia pedunculata กะอวม
Limonia acidissima มะขวดิ
55 SAPINDACEAE Homalium tomentosum ขานาง

56 SAPOTACEAE Lepisanthes rubiginosa มะหวด

57 STENMONURACEAE Mischocarpus pentapetalus พะบ้าง
58 STERCULIACEAE Nephelium lappaceum เงาะสชี มพู
59 STRYCHNACEAE Madhuca motleyana สะเตยี ว
60 STYRACACEAE Madhuca pierrei ซาง
Mimusops elengi พิกลุ
61 SYMPLOCACEAE Palaquium obovatum เตียวพรุ
Sarcosperma arboretum มะยาง,เหมอื ดหอม
62 TETRAMELACEAE Stemonurus malaccensis อ้ายบา่ ว
63 THYMELAEACEAE Scaphium affine สำรอง
64 VERBENACEAE Strychnos nux-vomica แสลงใจ
65 ZINGIBERACEAE Styrax apricus กำยาน
Symplocos lucida เหมือดสนั นูน
Symplocos longifolia เหมือดคนดำ
Symplocos sumuntia เหมือดปลาซิว
Tetrameles nudiflora สมพง
Aquilaria crassna กฤษณา
Gmelina arborea ซอ้
Alseodaphne birmanica ขม้นิ ตน้

สรปุ ผลการศกึ ษาวจิ ยั
การศึกษาครง้ั นไ้ี ด้จัดทำดีเอน็ เอบาโค้ดจากพันธ์ไุ มป้ า่ หวงห้ามและไม้ปา่ ในบัญชี CITES ในประเทศไทย

โดยการสกดั ดเี อน็ เอจากใบและเปลือกของพนั ธไ์ุ ม้แต่ละชนดิ จำนวน 579 ตวั อยา่ ง และถอดรหัสพันธุกรรม
ของดีเอ็นเอในคลอโรพลาสจีโนม 3 ตำแหน่ง คือ Maturase K, rbcl (Ribulose Bisphosphate
Carboxylase large chain) และ trnH-psbA (intergenic spacer) มีความยาวนวิ คลีโอไทด์ 550 bp 450
bp และ1,000bp ตามลำดับ สามารถถอดรหสั พนั ธุกรรมดว้ ยยีน Maturase K จากส่วนคลอโรพลาสต์จโี นม
ในไม้ป่าของประเทศไทยได้ จำนวน 168 ตัวอย่าง สามารถจำแนกออกได้เป็น 45 วงศ์ (families) 90 สกุล
(Genus) 126 ชนิด (species) ยีน RBCL จำนวน 278 ตัวอย่าง สามารถจำแนกออกได้เป็น 55 วงศ์ 100
สกุล 161 ชนิด และตำแหน่ง trnH-psbA จำนวน 133 ตัวอย่าง นอกจากนี้ได้วิเคราะห์รวมกัน 3 ตำแหน่ง
พบว่าสามารถจำแนกได้ 65 วงศ์ (Family) 140 สกุล (Genus) และ 240 ชนิด (Species) ซึ่งสอดคล้องกับ

154

การจำแนกทางอนกุ รมวิธาน ขอ้ มลู ดงั กลา่ วได้เปน็ ฐานข้อมลู ท่ีใช้ในการเปรยี บเทยี บชน้ิ สว่ นไม้ของกลาง ท้ัง
ในอดีตและในอนาคตได้

ขอ้ เสนอแนะ
ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการพิสูจน์หลักฐานในการวินิจฉัยชนิดพันธุ์ไม้ที่ถูก

ลกั ลอบตดั อยา่ งผดิ กฎหมายเพ่อื พสิ ูจนค์ วามบริสทุ ธิข์ องผูท้ ่ถี ูกฟ้องร้องได้ทำผดิ กฎหมายหรือไม่
ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป การจัดทำฐานข้อมูลพันธุกรรมของไม้ป่าในประเทศไทยโดย

การถอดรหัสพันธุกรรมกำลังต้องดำเนินการในพันธุ์ไม้ป่าที่ หายากใกล้สูญพันธุ์ พันธุ์ไม้ป่าที่มีความสำคัญ
พันธุ์ไม้ป่าสมุนไพร และพันธุ์ไม้ที่สำคัญในประเทศเพื่อเป็นฐานข้อมูลทางด้านดีเอ็นของพันธุ์ไม้ในประเทศ
ไทย ซ่ึงปจั จุบนั พบวา่ ฐานข้อมลู ทางดา้ นดเี อน็ เอและรหัสพันธกุ รรมของพนั ธไุ์ มใ้ นประเทศไทยยังมีไม่มาก

155

บทที่ 15

การจำแนกไมพ้ ะยงู (Dalbergia cochinchinensis) ออกจาก
ไม้ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ชิงชนั (Dalbergia oliveri)
กระพเี้ ขาควาย (Dalbergia cultrata) เกด็ ดำ (Dalbergia assamica)

โดยการถอดรหสั พนั ธกุ รรมจากยนี Maturase K

คำนำ

พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) จัดอยู่วงศ์ถั่ว (Leguminosae-Papilionoideae) พะยูง
(D. cochinchinensis) เป็นไม้เศรษฐกจิ ท่ีสำคัญในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ พบได้ใน กัมพูชา ลาว และไทย
สำหรบั ในประเทศไทยน้ันพบในแถบทางภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางของประเทศ
มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ในป่าผสมผลัดใบและป่าดิบแล้งที่สูงจากระดับน้ำทะเล 50-200 เมตร
เป็นไม้ผลัดใบที่มีขนาดปานกลางถึงขนาด ใหญ่ (Niyomdham, 2002) ลักษณะเด่นของไม้พะยูง
(D. cochinchinensis) คือ เนื้อไม้พะยูง (D. cochinchinensis) โดยกระพ้ี (sapwood) ส่วนใหญ่มีสีขาว มีความ
กว้าง 40-50 มิลลิเมตร ส่วนแก่น (heartwood) มีสีม่วงอ่อนกุหลาบ (light rose purple) ไปจนถึง สีม่วง
แดง (burgundy) โดยมรี ้ิวลายสีน้ำตาลดำหรอื สีดำ เปน็ ไมท้ ท่ี นทานและแขง็ แรง คุณสมบตั ิเหล่านี้ทำให้เป็น
ที่สนใจและต้องการอย่างยิ่ง ซึ่งทำให้เป็นที่รู้จักกันในชื่อของ Thailand rosewood หรือ Siamese
Rosewood (Keating and Bolza, 1982) พะยูง (D. cochinchinensis) จัดไม้ยืนต้นที่มีคุณค่าในอันดับ
ต้นๆของไทย และถอื เปน็ ไมม้ งคลชน้ั สูง เนอื่ งจากพะยงู (D. cochinchinensis) มีเนื้อไม้หรือแก่นไม้ท่ีมีสีสัน
ลวดลายงดงาม ชักเงาดี และคงทนแข็งแรงดังนั้นจึงมักถูกนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในลักษณะของไม้แปรรูปใน
การก่อสร้าง และทำเฟอร์นิเจอร์ เครื่องดนตรี เคร่ืองไม้เครื่องมือต่างๆ รวมถึงวัตถุมงคล ในปัจจุบันเนื้อไม้
พะยูง (D. cochinchinensis) เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะจีน ไต้หวัน และเวียดนาม และมีราคาค่อนข้างสูงด้วยเหตดุ ังกล่าวจึงเกิดขบวนการลักลอบตัดไม้
พะยูง (D. cochinchinensis) ในประเทศไทย นอกจากนี้ปัจจุบันพบปัญหาการจำแนกไม้พะยูง
(D. cochinchinensis) ออกจากไม้ที่มีลักษณะทางกายภาพใกล้เคียงกัน เช่น ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) ชิงชัน (Dalbergia oliveri) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) และเก็ดดำ
(Dalbergia assamica) ทำไดย้ ากดว้ ยตาเปล่าจะตอ้ งมกี ารเฉือนเน้ือไม้เพื่อดจู ากแว่นขยายและผู้เช่ียวชาญ
จึงจะสามารถจำแนกได้ ส่วนในการทวนสอบว่าเป็นไม้พะยูง (D. cochinchinensis) หรือไม่สามารถจำแนก
โดยรหัสพันธุกรรมจำเพาะ ในการจัดทำฐานข้อมูลทางพันธุกรรมที่มีความจำเพาะของไม้พะยูง
(D. cochinchinensis) ในการจำแนกชนิดไมท้ ไ่ี ม่สามารถพสิ จู น์ลักษณะทางสัณฐานและกายภาพในรูปแบบ
ที่แตกต่างกันไป เช่น ขี้เลื่อยที่ตกอยู่ในที่เกดิ เหตุ หรือขี้เลื่อยท่ีติดอยูท่ ่ีใบเลือ่ ยยนต์ ผลิตภัณฑ์รูปแบบตา่ งๆ
ได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการในการจัดทำฐานข้อมูลทางพันธุกรรมที่มีความจำเพาะในไม้พะยูง
(D. cochinchinensis) และไม้ท่ีมคี วามสำคญั และมคี ่าทางเศรษฐกิจ

156

วิธีการศึกษาวจิ ยั

Changtragoon and Singthong (2016) ได้สกัดดีเอ็นเอจากตัวอย่างใบไม้และเนื้อไม้พะยูง
(D. cochinchinensis) ชิงชัน (D. oliveri) เกด็ ดำ (D. assamica) กระพี้เขาควาย (D. cultrata) และประดู่
(P. macrocarpus) ด้วยวิธี Doyle and Doyle (1990) และวัดปริมาณและคุณภาพดีเอ็นเอ ด้วยวิธี
อิเล็กโตรโฟรีซีส แล้วนำดีเอ็นเอที่สกัดได้มาเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยใช้ เทคนิค Polymerase Chain
Reaction(PCR) ที่ยีน maturase K ขนาด 470 bp นำดีเอ็นเอที่เพ่ิมปริมาณเรียบร้อยแลว้ มาวิเคราะห์รหสั
พันธุกรรมจากเครื่อง ABI PRISM® 3100-Avant Genetic Analyzer (Applied) Biosystem, USA และ
นำมาวิเคราะห์ลำดับนวิ คลโี อไทด์ โดยการเปรียบเทยี บความแตกต่างของลำดบั นิวคลีโอไทด์ กับฐานขอ้ มลู
genbank และนำไปจำแนกกลุ่มโดยการวิเคราะห์ phylogenetic tree โดยใช้โปรแกรม MEGA 4
(Tamura et al., 2007) วิธี Neighbour Joining method แบบ Bootstrap (Felsenstein, 1985).

ผลการศึกษาวจิ ัย

ในการศึกษาครั้งนี้ทำการจำแนกไม้พะยูง (D. cochinchinensis) ออกจาก ชิงชัน (D. oliveri) เก็ดดำ
(D. assamica) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) และประดู่ (P. macrocarpus) โดยการถอดรหัสพันธุกรรมใน
ยีน Maturase K ขนาด 720 bp ดีเอ็นเอสกัดได้จากใบไม้และเนื้อไม้ของตัวอย่างชนิดไม้ดังกล่าวข้างต้นพบว่าไม้
พะยูง (D. cochinchinensis) มีลำดับนิวคลีโอไทด์ที่แตกต่างจากไม้ชิงชัน (D. oliveri) เก็ดดำ (D. assamica) กระพี้
เขาควาย (D. cultrata) และประดู่ (P. macrocarpus) ถึง 41 ตำแหน่ง โดยไม้พะยูง (D. cochinchinensis) มีลำดับ
นิวคลีโอไทด์แตกต่างจาก ชงิ ชนั (Dalbergia oliveri) 19 ตำแหนง่ , กระพีเ้ ขาควาย (D. cultrata) 19 ตำแหน่ง เก็ดดำ
(D. assamica) 16 ตำแหน่ง และประดู่ (P. macrocarpus) 49 ตำแหน่ง ส่วนความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของ
ไม้พะยูง (D. cochinchinensis) เปรียบเทียบกับ ประดู่ (P. macrocarpus) ชิงชัน (D. oliveri) กระพี้เขาควาย
(D. cultrata) และเก็ดดำ (D. assamica) แสดงดังภาพท่ี 15.1 ภาพท่ี 15.2 แสดงความสัมพันธ์ทางพนั ธุกรรมของไม้
พะยูง (D. cochinchinensis) ประดู่ (P. macrocarpus) ชิงชัน (D. oliveri) กระพี้เขาควาย (D. cultrata) และเก็ดดำ
(D. assamica) (Changtragoon and Singthong, 2016)

157

10 20 30 40 50
....|....| ....|....| ....|....| ....|....| ....|....| ....|..
NLG11 Dalbergia cochinchinensi AACTTTACTG GTTTTGACGT ACGGGGTCCT CATTCTCCCG CTCATGGGGC CTGGAGT

chch Dalbergia oliveri ....G...A. ....CA.A.. .......A.. ---CA..T.A .....T.AAT A....A.

NLG20 Dalbergia assamica ....G...A. ....C..... .T.....A.. ---CA..T.. .....T.AA. A....A.

KPK Dalbergia cultrata ....G...A. ....C....C .......A.. ---CA..T.. .C...T.AA. A..T.A.

NLG18 Pterocarpus macrocarpus CCGGGCTTAT ACAGC.C.T. C.AATCCATA ---CACATA. A.AGGTAAA. ACA.GAC

ภาพที่ 15.1 แสดงตำแหน่งและชนิดของลำดับนิวคลีโอไทด์ที่มีความจำเพาะของไม้พะยูง (Dalbergia
cochinchinensis) ทแ่ี ตกตา่ งจาก ไม้ชิงชนั (D. oliveri) กระพเ้ี ขาควาย (D. cultrata) เกด็ ดำ
(D. assamica) และ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ในยนี Mat K

หมายเหตุ : พะยงู (Dalbergia cochinchinensis) มลี ำดบั นวิ คลโี อไทด์แตกต่างจาก ชงิ ชนั (Dalbergia oliveri) 19 ตำแหน่ง
: พะยูง (D. cochinchinensis) มีลำดับนวิ คลโี อไทดแ์ ตกตา่ งจาก กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) 18 ตำแหนง่
: พะยงู (D. cochinchinensis) มลี ำดบั นวิ คลโี อไทดแ์ ตกต่างจาก เกด็ ดำ (Dalbergia assamica) 16 ตำแหนง่
: พะยูง (D. cochinchinensis) มลี ำดับนวิ คลโี อไทด์แตกต่างจาก ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) 49 ตำแหน่ง

NLG11 Dalbergia cochinchinensis พะยงู
KPK Dalbergia cultrata กระพี้เขาควาย
NLG20 Dalbergia assamica เกด็ ดำ
chch Dalbergia oliveri ชงิ ชัน

NLG18 Pterocarpus macrocarpus ประดู่

ภาพท่ี15.2 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไม้พะยูง ( Dalbergia
cochinchinensis) กระพ้เี ขาควาย (D. cultrata) เก็ดดำ (D. assamica) ชิงชนั (D. oliveri)
และประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ
Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4

158

สรปุ ผลการศึกษาวจิ ัย

1. ใ น ก า ร ถ อ ด ร ห ั ส พ ั น ธ ุ ก ร ร ม ท ี ่ ย ี น Maturase K น ั ้ น ส า ม า ร ถ จ ำ แ น ก ไ ม ้ พ ะ ยู ง
(D. cochinchinensis) ออกจากไม้ ไม้ประดู่ (P. macrocarpus) ชิงชัน (D. oliveri) กระพี้เขาควาย
(D. cultrata) เก็ดดำ (D. assamica) โดยพบว่าไม้พะยูง (D. cochinchinensis) มีลำดับนิวคลีโอไทด์ท่ี
แตกต่างจากไม้ ชิงชัน (D. oliveri) เก็ดดำ (D. assamica) กระพี้เขาควาย (D. cultrata)และประดู่
(P. macrocarpus) ถึง 41 ตำแหน่ง โดยพะยูง (D. cochinchinensis) มีลำดับนิวคลีโอไทด์แตกต่างจาก
ชิงชัน (D. oliveri) 19 ตำแหน่ง, กระพี้เขาควาย (D. cultrate) 19 ตำแหน่ง เก็ดดำ (D. assamica) 16
ตำแหนง่ และประดู่ (P. macrocarpus) 49 ตำแหน่ง

2. สามารถพสิ ูจน์ชนดิ จากไมท้ ่ีมีลักษณะทางสัณฐานและกายภาพในรูปแบบที่แตกต่างกันไป เชน่
ขเ้ี ล่อื ย ผลติ ภณั ฑ์รูปแบบตา่ งๆได้โดยใชก้ ารถอดรหสั พนั ธุกรรมยนี จาก Maturase K

3. สามารถใช้ในการทวนสอบในการจำแนกจากทางสัณฐานวทิ ยาและทางกายภาพ
4. สามารถเสรมิ ศักยภาพและนำไปขยายผลตอ่ การปฏิบัติในการปอ้ งกนั และบงั คบั ใชก้ ฎหมายของ
กองคุม้ ครองพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ และพืชป่าตามอนุสัญญา (ไซเตส: อนสุ ญั ญาวา่ ด้วยการคา้ ระหว่างประเทศซึ่งชนิด
สัตวป์ ่าและพืชป่าทใ่ี กลจ้ ะสูญพนั ธ์ุ)
5. สามารถนำเสนอให้ ไซเตส: อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซ่งึ ชนดิ สัตว์ป่าและพชื ปา่ ท่ี
ใกล้จะสูญพันธุ์ ควบคุมการค้าระหว่างประเทศของผลิตภัณฑ์ของไม้พะยูง (D. cochinchinensis) เพราะ
สามารถจำแนกไม้พะยูง (D. cochinchinensis) ออกจากไม้ชนิดอื่นๆ จากผลิตภัณฑ์ได้จากการวิเคราะห์
ทางดเี อน็ เอได้ (Changtragoon and Singthong, 2016)

159

บทท่ี 16

การจำแนกไมส้ ะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดา
อนิ เดยี (Azadirachta indica) โดยยนี Maturase K ในคลอโรพลาสต์จโี นม

คำนำ

ไม้สะเดา (Azadirachta spp.) เปน็ ไมต้ น้ ท่ีถกู จดั อยใู่ นวงศ์ Meliaceae และเปน็ ไมด้ ้งั เดมิ ของเขตเอเชีย
อาคเนย์ ซึ่งมีการกระจายพันธุ์อยู่ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน พบในป่าเขตร้อนทั่วไปเช่น ในประเทศอินเดีย
ปากีสถาน ศรีลังกา มาเลเซยี อินโดนีเซีย และพม่า (Forster and Moser, 2000) และนำไปปลูกในประเทศต่างๆ
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก ออสเตรเลีย อเมริกากลางและอเมริกาใต้ แคริเบียน และตะวันออก
กลาง (Stoney, 1997) สำหรบั ในประเทศไทยพบการกระจายพันธุเ์ กือบทกุ ภาคของประเทศไทย (Gardner et al.,
2000) ไมส้ ะเดานอกจากจะใช้เป็นอาหารแล้วยังเป็นพืชทม่ี ีคุณประโยชน์ทางด้านกำจัดแมลงศัตรูพืชทดแทนการ
ใชส้ ารเคมีท่ีเป็นอนั ตรายแกผ่ ู้ใช้และส่งิ แวดล้อม นอกจากน้ยี งั ใช้ผสมกับกากนำ้ ตาลเป็นอาหารสัตว์ ใช้ทำปยุ๋ เป็น
ยาฆ่าเชื้อ เป็นต้น จากประโยชน์ที่กล่าวมานั้น ไม้สะเดาจึงเป็นที่รู้จักและศึกษากันอย่างกว้างขวางในด้านการ
นำไปใช้ประโยชน์ สำหรับการศึกษาลักษณะพันธุกรรมได้มีการศึกษามาบ้างแล้วเช่นการศึกษาของ Deshwal et
al. (2005) และ Dhillon et al. (2007) เป็นต้น ทั้งนี้ Changtragoon et al. (1996b) และจันทร์เพ็ญ และสุจิตรา
(2550) ได้ศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรมของไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และ
ไม้สะเดาอินเดีย (Azadirachta indica) โดยใช้ Isoenzyme gene และเครื่องหมาย ไมโครแซทเทลไลท์ (SSR
markers) ซึ่งมีความแตกต่างชัดเจน อย่างไรก็ตามไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) ได้ถูกจัดให้เป็น
variety ของไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) โดยมชี ื่อวทิ ยาศาสตร์ว่า A. indica var. siamensis ซ่งึ ลกั ษณะภายนอก
ไม่ว่าลกั ษณะใบ ลกั ษณะเปลอื กมคี วามแตกต่างกนั และชว่ งเวลาการออกดอกออกผลก็ไม่ตรงกันด้วย (Sombatsiri
et al., 1995) การศกึ ษาคร้ังน้ีเพ่ือศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมโดยการเปรียบเทียบรหัสพันธุกรรมจากยีน matK
ทมี่ อี ยู่ในคลอโรพลาสต์จีโนมและศกึ ษาความสัมพนั ธท์ างพันธุกรรมของไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis)
และไม้สะเดาอินเดยี (A. indica) จากแต่ละแหล่งและจากแต่ละประเทศที่มีการกระจายพนั ธุต์ ามธรรมชาติและที่
นำไปปลกู ในประเทศตา่ งๆว่าจะมีความแตกต่างกันและมีความสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ Changtragoon et al.
(1996b) และ จนั ทร์เพ็ญ และสจุ ติ รา (2550) หรือไม่

วัสดุและวธิ ีการศึกษาวิจยั
สุจิตรา (2554) ได้เก็บใบอ่อนของไม้สะเดาไทย(A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอนิ เดยี (A. indica)

จำนวน 24 แหลง่ จาก 9 ประเทศตา่ งๆ แหล่งละ 2 ต้น จากสถานที ดลองปลกู นานาชาติ จ.กาญจนบรุ ี (ตารางท่ี 16.1)
นำตัวอยา่ งมาสกัดดีเอน็ เอตามวธิ ีทป่ี ระยุกตจ์ ากการสกดั ของ Doyle and Doyle (1990) และ Changtragoon et al.
(1996a) เมื่อได้สารละลายดีเอ็นเอแล้วนำไปตรวจสอบปริมาณและคุณภาพด้วยอะกาโรสเจล โดยวิธีอิเล็กโทรโฟริซิส

160

และนำไปเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอที่ยีน maturaseK (matK) โดยใช้ไพรเมอร์จาก Cuenoud et al. (2002) และ
Muellner et al. (2003) จากน้นั นำผลผลติ พซี อี าร์ไปเชื่อมต่อเข้ากับพลาสมิดโดยใช้ pGEM-T Easy Vector System
I kit (Promega) และถ่ายยีนเข้าสู่แบคทีเรียเจ้าบ้าน (host) เพื่อเพิ่มปริมาณพลาสมิดสายผสม จากนั้นนำไปตรวจ
ยืนยันชิ้นดีเอน็ เอหรอื ยนี ท่อี ยู่ในพลาสมิดสายผสมเพ่ือตรวจสอบว่าโคโลนที ่ีเลอื กมานัน้ ตรงกับขนาดหรือไม่ และนำ
โคโลนีที่ได้เลี้ยงในอาหาร LB เพื่อสกัดแยกพลาสมิดให้บริสุทธิ์ เมื่อได้สารละลายพลาสมิดสายผสมที่บริสุทธิ์แล้ว
นำมาทำการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์โดยใช้ชุด Big Dye Terminator v3.1 Cycle Sequencing Kit (Applied
Biosystems) และลำดับนิวคลีโอไทด์จะถูกนำมาตรวจสอบความถูกต้องโดยใช้โปรแกรม Bioedit เมื่อได้ลำดับ
นิวคลีโอไทด์แล้ว จึงนำไปจำแนกกลุ่มของไมส้ ะเดาไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica)
โดยใช้โปรแกรม MEGA 4 ดว้ ยวธิ ี Neighbour Joining
ตารางที่ 16.1 ไมส้ ะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไมส้ ะเดาอินเดีย (A. indica) จากแหลง่
และประเทศตา่ งๆท่ีใช้ในการศึกษาโดยเก็บรวบรวมจากสถานีทดลองปลูกนานาชาติ จ.กาญจนบรุ ี

ลำดับ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ชอ่ื สามญั ชอ่ื ของแหลง่ พิกัด
สะเดาไทย Ban Bo, Kalasin, Thailand ละติจดู ลองติจูด
1 A. indica A.Juss. 16 O17’N 103 O 35’N
var. siamensis
สะเดาไทย Ban Nong Hoi, 14 O 09’N 99 O 19’N
2 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดยี Kanchanaburi, Thailand
var. siamensis สะเดาไทย Sunyani, Republic of Ghana 04 O 21’N 02 O 21’N
สะเดาไทย 17 O 57’N 98 O 41’N
3 A. indica A.Juss. สะเดาไทย Doi Tao, Chiang Mai,
4 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดยี Thailand 18 O 00’N 10 2 O 45’ N
สะเดาอินเดีย Vientiane, Lao People’s
var. siamensis สะเดาไทย Democratic 09 O 09’N 99 O 07’N
5 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดีย Tung Luang, Surat Thani,
สะเดาอนิ เดยี Thailand 19 O 05 ’N 83 O 49’N
var. siamensis สะเดาอนิ เดยี Ramannaguda, Orissa,
6 A. indica A.Juss. Republic of India 19 O 51’N 96 O 16’N
Yezin, Republic of the
var. siamensis Union of Myanmar 14 O 05’N 99 O 40’N
7 A. indica A.Juss. Ban Nong Rong,
Kanchanaburi, Thailand 22 O 03’N 95 O 13’N
8 A. indica A.Juss. Myene, Republic of the
Union of Myanmar 21 O 51’N 78 O 45’N
9 A. indica A.Juss. Sagar, Chanatoria Madhya
var. siamensis Pradesh, Republic of India 19 O 51’N 79 O 25’N
Balharshah,Maharashtra,
10 A. indica A.Juss. Republic of India

11 A. indica A.Juss.

12 A. indica A.Juss.

161

13 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Ghaati Subramanya, 13 O 22’N 77 O 34’N
14 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดยี Karnataka, Republic of India 14 O 02’N 76 O 04’N
15 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดีย Chitradurga, Karnataka, 26 O 18’N 73 O 01’N
16 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดยี Republic of India 11 O 17’N 77 O 07’N
17 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Mandore, Jodhure, Republic 25 O 28’N 81 O 54’N
18 A. indica A.Juss. สะเดาไทย of India 15 O 32’N 99 O 57’N
สะเดาอินเดีย Annur, Tamil Nadu, 27 O 52’N 82 O 31’N
var. siamensis สะเดาอินเดยี Republic of India 28 O 46’N 80 O 34’N
19 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดยี Allahabad Town, Uttar Pradesh, 28 O 24’N 70 O 18’N
20 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดยี Republic of India 30 O 11’N 71 O 29’N
21 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดยี Khao Laung, Nakhon Sawan, 07 O 08’N 80 O 00’N
22 A. indica A.Juss. Thailand
23 A. indica A.Juss. สะเดาอนิ เดยี Lamahi, Federal Democratic 14 O 30’N 17 O 02’N
Republic of Nepal
24 A. indica A.Juss. Geta, Federal Democratic
Republic of Nepal
ท่ีมา: สุจิตรา, 2554 Tibbi Laran, Rahimyar Khan,
Islamic Republic of Pakistan
Multan, Cantonment Area,
Islamic Republic of Pakistan
Kuliyapitiya, Democratic
Socialist Republic of Sri
Lanka
Bandia, Replubic of Senegal

ผลการศึกษาวิจยั

จากการเพิ่มปริมาณชิ้นดีเอ็นเอด้วยยีน matK ของไม้สะเดาจากแหล่งต่างๆพบว่าสามารถเพิ่ม
ปรมิ าณชน้ิ ดเี อน็ เอได้ทุกแหลง่ ชิน้ ดเี อ็นเอทีเ่ พ่ิมปริมาณได้มขี นาดประมาณ 930 คู่เบส ซ่ึงตรงกับขนาดของ
ชนิ้ ดเี อ็นเอเปา้ หมาย (ภาพท่ี 16.1) การวเิ คราะห์ลำดบั นวิ คลีโอไทด์ท่ียีน matK ในไมส้ ะเดาไทย (A. indica
var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดยี (A. indica) (ภาพที่ 16.2) ในการเปรียบเทียบลำดับนิวคลโี อไทด์จาก
ตัวอย่างไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ที่ศึกษาทั้งหมดพบว่ามี
ลำดับนิวคลีโอไทด์จำนวน 10 ตำแหน่งที่มีความผันแปร (variable nucleotide site) ที่จำเพาะกับกลุ่มไม้สะเดา
ไทย (A. indica var. siamensis) และไมส้ ะเดาอนิ เดีย (A. indica) (ตารางท่ี 16.2)

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไม้สะเดาในแหล่งต่างๆซึ่งวิเคราะห์ออกมาเป็น
phylogenetic tree โดยวิธี Neighbour Joining นั้น สุจิตรา (2554) พบว่าไม้สะเดาจากแหล่งต่างๆ แบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ (ภาพที่ 16.3) กล่าวคือกลุ่มที่ 1 เป็นไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ประกอบด้วย 7

162

ประเทศ คือ (1) ประเทศอินเดีย 8 แหล่ง ได้แก่ เมือง Tamil Nadu, Karnataka (Ghaati Subramanyu),
Orissa, Chanatoria Madhya Pradesh, Maharashtra, Karnataka (Chitradurga), Jodhure และ Uttar
Pradesh (2) ประเทศเมียนมาร์ 2 แหล่ง ได้แก่ เมือง Myene และ Yezin (3) ประเทศปากีสถาน 2 แหล่ง
ได้แก่ เมือง Cantonment Area และ Rahimyar Khan (4) ประเทศศรีลังกา 1 แหล่ง ได้แก่ เมือง
Kuliyapitiya (5) ประเทศเซเนกัล 1 แหล่ง ได้แก่ เมือง Bandia (6) ประเทศกาน่า 1 แหล่ง ได้แก่ เมือง
Sunyani (7) ประเทศเนปาล 2 แหล่ง ได้แก่ เมือง Lamahi และ Geta กลุ่มที่ 2 เป็นไม้สะเดาไทย
(A. indica var. siamensis) ประกอบดว้ ย 2 ประเทศ คอื (1) ประเทศไทย 6 แหลง่ ได้แก่ บ้านหนองหอย
และบ้านหนองโรง จ.กาญจนบรุ ี ทุง่ หลวง จ.สรุ าษฎร์ธานี บ้านบอ่ จ.กาฬสนิ ธุ์ ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ และเขา
หลวง จ.นครสวรรค์ (2) สปป.ลาว 1 แหลง่ ได้แก่ เมืองเวยี งจันทน์ จากผลการศกึ ษาดงั กลา่ วสามารถจำแนก
ไม้สะเดาออกได้เป็น 2 กลุ่มไดอ้ ย่างชัดเจน ซึ่งสอดคลอ้ งกับการศกึ ษาของ Changtragoon et al. (1996a)
ในการจำแนกไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) ไมส้ ะเดาเทียม (A. excelca) และไม้สะเดาอินเดยี
(A. indica) โดยใช้ Isoenzyme genes และจันทร์เพ็ญ และสุจิตรา (2550) ในการจำแนกไม้สะเดาไทย
(A. indica var. siamensis) กับไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) โดยใช้เครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ (SSR
markers) ได้อย่างชัดเจน (ภาพท่ี 16.4 และภาพที่ 16.5) และยังสอดคล้องกับการศึกษาของ Singh et al.
(2002) ที่ศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรมของไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดา
อินเดีย(A. indica) โดยการใช้เครื่องหมายเอเอฟแอลพี (AFLP markers) และเครื่องหมายเอสเอเอ็มพีแอล
(SAMPL markers) ซ่งึ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ไมส้ ะเดาไทย (A. indica var. siamensis) ควรจะยกระดับจากระดับ
พันธ์ุ (variety) ข้นึ เปน็ ระดับชนดิ (species) อยา่ งไรก็ตามควรปรกึ ษากบั ผู้เชี่ยวชาญพฤกษศาสตร์ทม่ี ีความรู้
ความชำนาญในการจำแนกไมว้ งศ์ Meliaceae ถงึ ขอ้ สรปุ ในการปรบั สถานภาพของไม้สะเดาไทย (A. indica
var. siamensis) อย่างไรก็ตามการท่สี ะเดาไทย (A. indica var. siamensis) มีความแตกต่างทางพันธกุ รรม
อย่างชัดเจนจากสะเดาประเทศอินเดีย (A. indica) จึงควรให้ความสำคัญต่อการบริหารจัดการดูแลแหล่ง
พันธุกรรมของไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) ทั้งในถิ่นและนอกถิ่นกำเนิดเพื่อการใช้ประโยชน์
อยา่ งยั่งยืนในอนาคต

163

1000 bp
500 bp

ภาพที่ 16.1 แสดงการตรวจวิเคราะห์ช้นิ ดเี อ็นเอขนาด 930 ค่เู บส ท่ีได้จากการเพม่ิ ปริมาณดว้ ยเทคนิค
พซี อี ารโ์ ดยใชค้ ไู่ พรเมอร์จากยีน matK (ท่มี า: สจุ ติ รา, 2554)

ภาพท่ี 16.2 รปู แบบ electrophoregram บางตำแหนง่ ท่ีเป็น single nucleotide polymorphism ของ
ไมส้ ะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไมส้ ะเดาอนิ เดยี (A. indica) (ทม่ี า:
สจุ ติ รา, 2554)

164

ตารางท่ี 16.2 ลำดบั นวิ คลโี อไทด์จำนวน 10 ตำแหน่งที่มีความผันแปรในยนี matK ทมี่ ีขนาด 930 คู่เบส
โดยมคี วามจำเพาะกบั ไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดา
อินเดีย (A. indica)

ชื่อสามญั ชื่อแหล่ง ตาแหน่งลาดบั นิวคลีโอไทดท์ ่ีมคี วามผนั แปร
_ ____ *
*
_ ____ *
_ ____

ทีม่ า: สจุ ติ รา, 2554

165

10 Myene Myanmar
13 GhaatiSubramanya, Karnataka, India
16 Annur, TamilNadu, India
8 Yezin, Myanmar
3 Sunyani, Ghana สะเดาอินเ ีดย (A .indica A.Juss.)
12 Balharshah,Maharashtra, India
AY128180 Azadirachta indica(matK)
11 SagarA, CYh1a2n8a1t7o9riaAMzaaddirhaycahPtarain_dde_isch_a,(_Imn_adti_ka)_ ___
15 Mandore, Jodhpur, India
17 Allahabad Town, Uttar Pradeah, India
14 Chitradurga, Karnataka, India
21TibbiLaran, Rahimyer Khan, Pakistan
20 Geta, Nepal
EF489115 ASeznaedgiraalcht_a i_nd_ic_a_(m_a_tk)___
24 Bandia, สะเดาไทย (A. indica A.Juss. var. siamensis Valeton)
22 Multan, Cantonment Area, Pakistan
23 Kuliyapitiya, SriLanka
7 Ramannaguda, Orissa, India
19 Lamahi, Nepal
5 Vientiane, Lao P.D.R
1 Ban Bo,Kalasin, Thailand
4 DoiTao,Chiang Mai, Thailand
6 Tung Luang, Surat Thani, Thailand
2 Ban Nong Hoi,Kanchanaburi, Thailand
9 Ban Nong Rong,Kanchanaburi, Thailand
18 Khao Luang, Nakhon Sawan, Thailand

0.002

ภาพท่ี 16.3 Phylogenetic tree แสดงความสมั พนั ธ์ทางพนั ธกุ รรมของไมส้ ะเดาไทย (Azadirachta
indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ในแหลง่ ต่างๆ โดยยีน Maturase K
ซ่ึงคำนวณตามวธิ ี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4 (ทม่ี า: สุจิตรา, 2554)

166

ภาพท่ี 16.4 การจัดกลุ่มไมส้ ะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) ไมส้ ะเดาอินเดยี (A. indica) และ
ไม้สะเดาชา้ งดว้ ย UPGMA แบบ unbiased genetic distance ดว้ ย Isoenzyme gene
(Changtragoon et al., 1996b) หมายเหตุ: As (1)-(4) แทนไม้สะเดาไทย (A. indica var.
siamensis) Ai แทนไม้สะเดาอินเดยี (A. indica) และ Ae แทนไม้สะเดาชา้ ง

ภาพที่ 16.5 การจำแนกไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica)
24 แหล่งจากการวิเคราะห์ความแตกต่างของลักษณะทางพันธุกรรมด้วยเครื่องหมาย
ไมโครแซทเทลไลท์ (จนั ทร์เพญ็ และ สจุ ติ รา, 2550)

167

สรปุ ผลการศกึ ษาวจิ ยั
จากผลการศึกษาในการถอดรหัสพันธุกรรมด้วยยีน matK ขนาด 930 คู่เบสในไม้สะเดาไทย

(A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอนิ เดีย (A. indica) จาก 24 แหล่งใน 9 ประชากรพบวา่ สามารถ
แยกกลุ่มของไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ได้อย่างชัดเจน
โดยมีความแตกต่างของลำดับนิวคลีโอไทด์ที่จำเพาะ 10 ตำแหน่งและมีความแตกต่างทางพันธุกรรมที่แบ่ง
ออกกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่มอย่างชัดเจนโดยสอดคลอ้ งกับผลการศึกษาที่ผ่านมา ซึ่งข้อมูลดังกล่าวน่าจะนำไป
ช่วยสนับสนุนการจัดจำแนกไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) ให้เป็นอีกชนิดหนึ่งโดยใช้ชื่อ
วิทยาศาสตรว์ า่ Azadirachta siamensis แทน A. indica var. siamensis นอกจากน้ีหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง
กบั ด้านปา่ ไม้ทั้งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ์ ืชและกรมป่าไม้ควรให้ความสำคัญในการดูแลรักษา
แหล่งทรัพยากรพันธุกรรมของไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) ทั้งในและนอกถิ่นกำเนิดไว้อย่าง
ยงั่ ยืนเพอ่ื อนรุ กั ษก์ ารใช้ประโยชน์และวิจยั ศกึ ษาพัฒนาขยายผลตอ่ ยอด (สจุ ิตรา, 2554)

168

บทท่ี 17

การพสิ จู น์ไมโ้ กงกาง (Rhizophora spp.) ว่าเป็นไม้โกงกางลูกผสมหรือไม่
โดยการใชก้ ารถอดรหสั พันธุกรรมในนวิ เคลียส และคลอโรพลาสต์ยีน

คำนำ

ไมโ้ กงกาง (Rhizophora spp.) มอี ยู่ประมาณ 73 ชนดิ และมีไมโ้ กงกางลกู ผสมที่มีการกระจายพนั ธุ์
อยู่ทั่วโลก (Spalding et al., 2010) ประเทศไทยมีไม้โกงกางอยู่ 34 ชนิด (สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2555) ลูกผสมตาม
ธรรมชาติในพืชเกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ โดยมีการรายงานว่าต้นที่คาดว่าเป็นลูกผสมของสกุลไม้โกงกาง
(Rhizophora) ลำแพน (Sonneratia) สกุลฝาด (Lumnitzera) สกลุ พังกา (Bruguiera) (Tomlinson, 1986;
Duke and Ge, 2011) ในการวินิจฉัยไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) ไม้โกงกางใบใหญ่
(Rhizophora mucronata) และไม้โกงกางสไตโลซา (Rhizophora stylosa) ในประเทศมาเลเซียนั้น
Ng et al. (2013) และ Ng et al. (2015) ได้ใช้ single nucleotide polymorphisms (SNPs) จาก
นิวเคลียสจโี นมศึกษา

ด้วยอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร (อนส.) อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ได้ขอความ
อนุเคราะห์จากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ให้ผู้เขียนช่วยศึกษาวิเคราะห์ทางพันธุกรรม
ไม้โกงกางที่คาดว่าเป็นไม้โกงกางลูกผสมระหว่างโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ่
(R. mucronata) ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในบริเวณอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรว่าเป็นไม้โกงกาง
ลกู ผสมจริงหรือไม่

วัสดุและวธิ ีการศกึ ษาวิจยั

Changtragoon et al. (2016) ได้ทำการเก็บตัวอย่างโกงกางใบใหญ่เล็ก (Rhizophora apiculata)
โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata ) และโกงกางลูกผสม (ภาพที่ 17.1) มาสกัด DNA ด้วยชุดสกัด DNeasy Plant
Kit (QIAGEN) แลว้ นำดีเอน็ เอท่ีสกัดได้มาเพ่ิมปริมาณยนี ในส่วนของนวิ เคลียส (Nucleus) 3 ยีน คอื DLDH ขนาด
1088 bp SBE2 ขนาด 709 bp และ FMRrm11 ขนาด 540 bp และยีนในส่วนของคลอโรพลาสต์จีโนม คือ
atpB-rbcL ขนาด 712 bp (ตารางที่ 17.1) แล้วจึงวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนที่ศกึ ษา จากหลักการ
ของวิธี Chain termination method ใช้ชุด Big Dye Terminator v3.1 Cycle Sequencing Kit (Applied
Biosystems, USA) โดยทำพีซีอาร์ซึ่งจะติดฉลากด้วยฟลูออเรสเซนต์ จากนั้นนำ PCR product ที่ได้ไปทำให้
บริสุทธิ์ และนำสารละลายที่ได้มาวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ โดยใช้เครื่องวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ ABI
PRISM® 3100-Avant Genetic Analyzer (Applied Biosystems, USA) แล้วจึงวิเคราะห์ผลลำดับนิวคลีโอไทด์

169

โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของลำดับนิวคลีโอไทด์ในการเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์ของพืชแต่ละชนิด
โดยผา่ นโปรแกรม Bioedit, DnaSP4.0 และ Mega 3.1

โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata)

โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata)
โกงกางลูกผสม และ โกงกางใบเล็ก (R. apicurata)

โกงกางลกู ผสม (Putative hybrid)

ภาพที่ 17.1 ตัวอย่างใบโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora
mucronata) และ โกงกางลกู ผสม (Putative hybrid) (ท่มี า: Changtragoon et al., 2016)

170

ตารางที่ 17.1 ไพรเ์ มอรท์ ่ใี ช้ในการศกึ ษา

ตำแหน่งของดเี อน็ ไพรเมอร์ (5′–3′) แหล่งทมี่ า
เอท่ศี กึ ษา

cpDNA region

atpB-rbcL spacer F: GAAATGGAAGTTAGCACTCG Inomata et al. (2009) Ng et al.
R: AAGATTCAGCAGCTACCGCA (2015)

nDNA region

DLDH F: TGGATGGTCATATAGCTCT Inomata et al. (2009) Ng et al.

R: GAACAAGCTCCCCTGCATTAG (2015)

SBE2 F: CAAAGTTTGTGAGTCTTATC Inomata et al. (2009) Ng et al.
R: GTCCTGACATTAAAACAGCC (2015)

FMRrm11 F: TTTCTATTTATGATCCCATCATCTC Cerón-Souza et al. (2010) Ng et al.
R: GCGTTTAACTGCCACAATTC (2015)

ทีม่ า: Changtragoon et al., 2016

ผลการศกึ ษาวจิ ัย

1.การพิสจู น์ว่าไม้โกงกางลูกผสมวา่ เปน็ ลูกผสมจรงิ หรือไม่

การพิสจู นโกงกางลูกผสมวา่ เกดิ จากการผสมของโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) กบั โกงกางใบใหญ่

(R. mucronata) หรือไม่นั้นพิสูจน์โดยการถอดหรัสพันธุกรรมโดยยีนในนิวเคลียส 3 ยีน โกงกางทั้ง 3 คือ

DLDH ขนาด 1088 bp SBE2 ขนาด 708 bp และ FMRrm11 ขนาด 540 ผลการศึกษาพบว่าโกงกาง

ลูกผสมดังกล่าวมียีนที่จำเพาะของทั้งโกงกางใบเล็ก (R. apiculate) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata)

จึงสรุปได้ว่าโกงกางลูกผสมเป็นลูกผสมระหว่างโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ่

(R. mucronata) จรงิ (ภาพท่ี 17.2)

2. การพสิ ูจน์วา่ โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) หรือใบใหญเ่ ป็นตน้ แม่ของโกงกางลูกผสมดงั กลา่ ว

การพิสจู นต์ ้นแม่โดยการการถอดรหสั พนั ธุกรรมในคลอโรพลาสต์ยีนในโกงกางลกู ผสมดังกลา่ ว โดย

เปรียบเทียบระหว่างโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) พบว่าโกงกางใบใหญ่

(R. mucronata) เป็นตน้ แม่และยนี ทจ่ี ำเพาะถูกถ่ายทอดโดยโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) (ภาพท่ี 17.3)

171

ชนิดพันธ์ทุ ศ่ี กึ ษา ตำแหนง่ คลอโรพลาสดเี อน็ เอทศ่ี ึกษา

ภาพที่ 17.2 ความแตกต่างของลำดบั นวิ เคลียสท่ีจำเพาะกับไมโ้ กงกางใบใหญ่ (Rhizophora muconata)
ไม้โกงกางใบเลก็ (R. apiculata) และไม้โกงกางท่ีคาดวา่ เป็นลกู ผสม (Putative hybrid) ท่ี
นิวเคลยี ส 3 ตำแหนง่ (DLDH SBE2 และ FMRrm11) (ท่ีมา: Changtragoon et al., 2016)

ชนิดพันธทุ์ ่ศี ึกษา ตำแหนง่ คลอโรพลาสดีเอ็นเอทศ่ี ึกษา

ภาพท่ี 17.3 ความแตกต่างของลำดับนิวเคลียสทีจ่ ำเพาะกบั ไมโ้ กงกางใบใหญ่ (Rhizophora muconata)
ไมโ้ กงกางใบเล็ก (R. apiculata) และไมโ้ กงกางท่ีคาดวา่ เป็นลกู ผสม (Putative hybrid) ใน
ตำแหน่งคลอโรพลาสต์ (atpB-rbcL intergenic spacer) (ทีม่ า: Changtragoon et al., 2016)

สรปุ ผลการศกึ ษาวจิ ัย
1. การพิสูจน์ไม้โกงกางว่าเป็นลูกผสมหรือไม่และเกิดจากการผสมของไม้โกงกางใบเล็ก

(R. apiculata) กับไม้โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) หรือไม่นั้นพิสูจนโ์ ดยการถอดรหัสพันธกุ รรมโดยยีน
ในนิวเคลียส 3 ยีน พบว่าไม้โกงกางลูกผสมดังกล่าวมียีนที่จำเพาะของทั้งไม้โกงกางใบเล็ก (R. apiculata)
และไม้โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) จึงสรุปได้ว่าไมโ้ กงกางลูกผสมเป็นลูกผสมระหว่างไม้โกงกางใบเลก็
(R. apiculata) และไม้โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) จริง

172

2. การพสิ ูจน์วา่ ไม้โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) หรอื ใบใหญ่เปน็ ตน้ แม่ของไม้โกงกางลกู ผสมดังกลา่ ว
การพิสูจน์ต้นแม่โดยการการถอดรหัสพันธุกรรมในคลอโรพลาสต์ยีนในไม้โกงกางลูกผสมดังกล่าว โดย
เปรียบเทียบระหวา่ งไม้โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และไม้โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) พบว่าไม้โกงกาง
ใบใหญ่ (R. mucronata) เป็นตน้ แมแ่ ละยนี ทจี่ ำเพาะถูกถา่ ยทอดโดยไม้โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata)

3. การพสิ จู น์ถึงสถานภาพที่จรงิ วา่ ไมโ้ กงกางดังกลา่ วเปน็ ลูกผสมจรงิ สามารถกระต้นุ ให้นักวิชาการ
ที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรธิ รขยายผลต่อยอดต่อการขยายพันธุ์แบบไม่อาศยั เพศในอนาคต เพื่อใชใ้ น
การฟื้นฟูป่าได้เนื่องจากไม้โกงกางลูกผสมดังกล่าวมีลักษณะการเจริญเติบโตและรากค้ำยันที่ใหญ่ ใบใหญ่
อย่างชัดเจน แข็งแรงกว่าไม้โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata)
ผลการศึกษานี้อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิริธรได้มีการขยายผลในการติดป้ายให้ความรู้แก่ผู้รับการ
ฝึกอบรม ผู้ร่วมประชุมสัมมนานานาชาติ และนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมป่าชายเลนที่อุทยานสิ่งแวดล้อม
นานาชาติ สิรินธร ได้รับทราบข้อมูลทางวิชาการในการตรวจพิสูจน์ว่าเป็นลูกผสมจริง โดยใช้ดีเอ็นเอ
เทคโนโลยจี ากกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธพุ์ ืช ทำใหส้ รา้ งภาพลกั ษณอ์ นั ดดี า้ นวชิ าการทางด้านงาน
พันธุกรรมไม้ป่าของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช และความร่วมมือทางวิชาการของทั้งสอง
หนว่ ยงาน (Changtragoon et al., 2016)

173

บทท่ี 18

คดนี ติ ิวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้เคร่ืองหมายดีเอน็ เอ คดีที่ 1: การพสิ จู น์ว่าไมข้ เ้ี ลือ่ ยของกลาง
และไมข้ องกลางในท่เี กิดเหตเุ ป็นชนิดเดียวกนั และเป็นไม้หวงห้ามหรอื ไม่

คำนำ

ตามที่ได้รบั หนังสือจากสำนักป้องกัน ปราบปราม และควบคมุ ไฟป่า ส่วนยุทธการด้านป้องกนั และ
ปราบปรามที่ ทส 0904.3/3263 ลงวันที่ 28 กันยายน 2553 เรื่องการตรวจพิสูจน์เนื้อไม้จากตัวอย่างของ
กลางเนอ้ื ไมแ้ ละขเ้ี ลอื่ ยจำนวน 4 ตัวอย่าง ดงั นี้ ตวั อยา่ งท่ี 1 คือ ตัวอย่างเน้อื ไมต้ รวจเก็บจากจุดกองไม้ในป่า
ตวั อย่างที่ 2 คือ ตัวอย่างข้ีเลือ่ ยตรวจเกบ็ จากจุดกองไมใ้ นปา่ ตวั อย่างท่ี 3 คอื ตัวอย่างขีเ้ ลื่อยตรวจเก็บจาก
พืน้ ดนิ ข้างขนำท่พี ักผ้ตู ้องหา และตวั อย่างที่ 4 คอื ตัวอยา่ งขี้เลื่อยตรวจเก็บจากเลอื่ ยโซย่ นต์ของกลางในขนำ
ทีพ่ ักผ้ตู อ้ งหาจากสถานที่เกิดเหตุคดีกระทำผดิ เกี่ยวกบั การป่าไม้ในเขตอทุ ยานแห่งชาติเขาสก ตำบลพะแสง
อำเภอบ้านตาขุน จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ 4 (สุราษฎร์ธานี) ส่วนอนุรักษ์และ
ป้องกันทรัพยากร เพื่อต้องการพิสูจน์ว่า วัตถุของกลางเป็นไมช้ นิดเดยี วกันหรอื ไม่ และวัตถุของกลางเปน็ ไม้
ชนิดใด จงึ ได้ทำการสง่ ตัวอยา่ งมาใหส้ ำนักวจิ ัยการอนุรักษป์ ่าไม้และพันธพ์ุ ชื เพื่อตรวจหารหัสพันธุกรรมน้ัน
ในการนี้สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืชได้มอบหมายให้ผู้เขียนทำการศึกษาวิจัยพันธุกรรมของ
ตัวอย่างดงั กล่าว

วธิ ีการวินจิ ฉัยพนั ธกุ รรม
ได้มีสกัด DNA จากตัวอย่างเนื้อไม้ 1 ตัวอย่าง (ตัวอย่างที่ 1) และขี้เลื่อย 3 ตัวอย่าง (ตัวอย่างที่ 2

3 และ 4) ด้วยชุดสกัด DNeasy Plant Kit (QIAGEN) แล้วนำดีเอ็นเอที่สกัดได้มาเพิ่มปริมาณยีนด้วย
ไพรเมอร์ ซึ่งเป็นยีนในสว่ นของคลอโรพลาสตจ์ โี นม คอื psbA-trnH ในการวเิ คราะหล์ ำดับนิวคลีโอไทด์ของ
ยีนที่ศึกษา จากหลักการของวิธี Chain termination method ใช้ชุด Big Dye Terminator v3.1 Cycle
Sequencing Kit (Applied Biosystems, USA) โดยทำพีซีอาร์ซึ่งจะติดฉลากด้วยฟลูออเรสเซนต์ จากนั้น
นำ PCR product ทไ่ี ด้ ไป ทำใหบ้ ริสทุ ธิ์ และนำสารละลายทไี่ ดม้ าวเิ คราะหล์ ำดบั นิวคลโี อไทด์ โดยใช้เครื่อง
วเิ คราะหล์ ำดับนวิ คลีโอไทด์ ABI PRISM® 3100-Avant Genetic Analyzer (Applied Biosystems, USA)
แล้วจึงวิเคราะห์ผลลำดบั นวิ คลีโอไทดโ์ ดยการเปรียบเทยี บความแตกต่างของลำดับนวิ คลโี อไทด์กับฐานข้อมลู
ดีเอ็นเอบาร์โค้ดท่ีได้ทำการศึกษาไว้และกับฐานข้อมูล gene bank ของโลกที่มีอยู่ในเว็บไซด์
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/

174

ผลการวนิ ิจฉยั พนั ธกุ รรม

การศึกษาวิจัยตัวอย่างเน้ือไม้ 1 ตัวอย่าง (ตัวอย่างที่ 1) และขี้เลื่อยของกลางจำนวน 3 ตัวอย่าง
(ตัวอย่างท่ี 2 3 และ 4) ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์โดยการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ในตำแหน่งของดีเอ็นเอและยีน
ส่วนของคลอโรพลาสต์ดีเอ็นเอ คือ Maturase K ยีน และ trnH-psbA spacer region ผลการศึกษาในการ
หาลำดับนิวคลีโอไทด์ใน Maturase K ยีน พบว่าสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอได้เพียงตัวอย่างที่ 3 และ 4
แล้ววิเคราะห์ผลลำดับนิวคลีโอไทด์โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของลำดบั นิวคลีโอไทด์ กับฐานข้อมลู
DNA barcode ของไม้ป่าในประเทศไทยที่ได้ทำการศึกษามาก่อนหน้านี้ พบว่าตัวอย่างที่ 3 และ 4 เป็นไม้
ชนดิ เดียวกันและมีความสัมพันธ์ทางพันธกุ รรมใกลเ้ คยี งกบั ไม้ในวงศป์ อ (STERCULIACEAE) (ภาพท่ี 18.1)

ผลการศึกษาวิจัยในในการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ใน trnH-psbA spacer region ของกลางทั้งหมด
4 ตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างที่ 1 และ 2 เป็นไม้ชนิดเดียวกันและมีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้เคียงกับ
ไม้กฤษณา ส่วน ตัวอยา่ งท่ี 3 และ 4 เป็นไมช้ นดิ เดยี วกนั และมีความสัมพันธ์ทางพนั ธุกรรมใกล้เคียงกับไม้ใน
วงศ์ปอ (STERCULIACEAE) ดังนั้นจึงพบว่าตัวอย่างที่ 1 และ 2 เป็นไม้คนละชนิดกับตัวอย่างที่ 3 และ 4
(ภาพท่ี 18.2) (สจุ ิตรา, 2560)

175

ภาพที่ 18.1 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมจากตัวอย่างขี้เลื่อยกับพรรณไม้ที่มีใน
ฐานข้อมูล (genbank) ในยีน Maturase k (Mat K) (ทมี่ า: สุจิตรา, 2560)

176

Sample 86 Hibiscus ... STERCULIACEAE
3
Hibiscus ...
99 Quararibe...

3 2 Sample
2 Aquilaria
44 4 100 Aquilaria...
19 Aquilaria... crassna
Sample 22 (Agarwood)
4 1

Sample
1

ภาพที่ 18.2 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมจากตัวอย่างขี้เลื่อยกับพรรณไม้ที่มีใน
ฐานข้อมูล (genbank) ใน trnH–psbA ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ
Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4 (ทม่ี า: สจุ ิตรา, 2560)

สรปุ ผลการวินจิ ฉยั พนั ธุกรรม

1. การศึกษาวิจัยตัวอย่างเนื้อไม้ 1 ตัวอย่าง (ตัวอย่างท่ี 1) และขี้เลื่อย 3 ตัวอย่าง (ตัวอย่างที่ 2 3
และ 4) ซึ่งได้ทำการวิเคราะหโ์ ดยการถอดรหสั พันธุกรรมยีนในสว่ นของคลอโรพลาสต์จีโนม คอื psbA-trnH
ผลการศึกษาจากตัวอย่างของกลางทั้งหมด 4 ตัวอย่าง สามารถถอดรหัสพันธุกรรมได้ 4 ตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่างที่ 1 และ 2 เป็นไม้ชนิดเดียวกันและมีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้เคียงกับไม้กฤษณา ส่วน
ตัวอย่างที่ 3 และ 4 เปน็ ไม้ชนิดเดียวกันและมคี วามสมั พนั ธ์ทางพนั ธกุ รรมใกล้เคยี งกบั ไมใ้ นวงศป์ อ ดังน้ันจึง
พบวา่ ตวั อย่างท่ี 1 และ 2 เป็นไม้คนละชนิดกับตัวอย่างที่ 3 และ 4

2. ผลการวินิจฉัยพันธุกรรมครั้งนี้ได้จัดส่งรายงานผลเป็นทางการจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่
และพนั ธ์ุพืช ไปยงั สำนักบรหิ ารพน้ื ทอ่ี นุรกั ษท์ ่ี 4 (สุราษฎรธ์ านี) ตามหนงั สอื ที่ ทส 0907.7/152 ลงวันท่ี 26
มกราคม 2554 เพอ่ื ดำเนนิ การต่อไป (สจุ ิตรา, 2560)

177

บทที่ 19

คดนี ิติวทิ ยาศาสตร์โดยใช้เคร่อื งหมายดเี อ็นเอ คดีท่ี 2: การพิสูจน์ว่าไมม้ ะม่วง
(Mangifera sp.) ของกลางมาจากมะมว่ งป่าที่เปน็ ไมห้ วงหา้ มหรือไม่

คำนำ
ตามที่ได้รับหนงั สือจากสำนักป้องกัน ปราบปราม และควบคมุ ไฟปา่ ส่วนยุทธการดา้ นปอ้ งกนั และ

ปราบปราม ที่ ทส 0904.302/1963 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2558 เรื่องขอให้ตรวจพิสูจน์ไม้ของกลางจาก
ตวั อยา่ งไมข้ องกลาง 1 ตัวอย่าง ดังแสดงในภาพท่ี 19.1 เพ่อื ตอ้ งการพิสูจนว์ ่า ไมข้ องกลางวา่ เป็นไม้หวงหา้ ม
ตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 หรือไม่ อุทยานแห่งชาติรามคำแหงได้ตรวจ
พิสูจน์เบื้องต้น พบว่าเป็นไม้มะม่วง (Mangifera sp.) จึงได้จัดส่งตัวอย่างเนือ้ ไม้มะม่วงของกลาง ใบมะม่วง
ป่าในอุทยานแห่งชาตริ ามคำแหงและใบมะม่วงบ้านชนิดละ 1 ตัวอย่าง (มะม่วงน้ำดอกไม้ มะม่วงเขียวเสวย
มะม่วงพิมเสน มะม่วงโชคอนันต์ มะม่วงเขียวใหญ่ มะม่วงฟ้าลั่น มะม่วงกะล่อนบ้าน มะม่วงเพชรบ้านลาด
มะม่วงแก้ว และมะม่วงกล้วย) มาเพื่อการศึกษาเปรียบเทียบทางพันธุกรรม ดังแสดงในภาพท่ี 19.2 ดังนั้น
เพื่อความถูกต้อง และชัดเจน อุทยานแหง่ ชาติรามคำแหง จึงได้ทำการส่งตัวอย่างมาให้กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ปา่ และพันธ์พุ ืช เพอ่ื ตรวจหารหัสพนั ธุกรรม ซึ่งผู้เขยี นได้รับมอบหมายตามสายงานในการตรวจวินิจฉัย
พนั ธุกรรมไมข้ องกลางดังกล่าว
วธิ กี ารวินจิ ฉยั พันธุกรรม

ไดม้ กี ารสกดั DNA จากตัวอย่างเนือ้ ไมแ้ ละใบไม้ จากตัวอย่างท่ีสง่ มาดงั ภาพท่ี 19.1 และ 19.2 ด้วย
ชุดสกัด DNeasy Plant Kit (QIAGEN) แล้วนำ ดเี อน็ เอทส่ี กัดได้มาเพ่ิมปริมาณยนี ในส่วนของคลอโรพลาสต์
จีโนม คือ trnH-psbA (intergenic spacer) ดังภาพที่ 19.3 แล้วจึงวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนที่
ศึกษา จากหลักการของวิธี Chain termination method ใช้ชุด Big Dye Terminator v3.1 Cycle
Sequencing Kit (Applied Biosystems, USA) โดยทำพีซีอาร์ซึ่งจะติดฉลากด้วยฟลูออเรสเซนต์ จากน้ัน
นำ PCR product ที่ได้ไปทำให้บรสิ ทุ ธิ์ และนำสารละลายทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ โดยใช้เครื่อง
วิเคราะห์ลำดับนวิ คลโี อไทด์ ABI PRISM® 3100-Avant Genetic Analyzer (Applied Biosystems, USA)
แล้วจึงวิเคราะห์ผลลำดับนิวคลีโอไทด์โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของลำดับนิวคลีโอไทด์ในการ
เปรยี บเทียบลำดับนิวคลโี อไทดข์ องพืชแตล่ ะชนดิ โดยผ่านโปรแกรม Bioedit , DnaSP4.0 และ Mega 3.1

178

ภาพท่ี 19.1 ท่อนไมข้ องกลางตอ้ งสงสยั

ภาพท่ี 19.2 ตัวอยา่ งใบมะม่วงปา่ (Mangifera spp.) จากอทุ ยานแห่งชาติรามคำแหง
ผลการวนิ ิจฉยั พนั ธกุ รรม

การศึกษาวิจัยตัวอย่างเนื้อไม้มะม่วงของกลาง 1 ตัวอย่าง ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์โดยการหาลำดับ
นิวคลีโอไทด์ในส่วนของคลอโรพลาสต์ดีเอ็นเอ คือ trnH-psbA spacer region ผลการศึกษาจากตัวอย่างเนอ้ื
ไม้มะม่วงของกลาง 1 ตัวอย่างเปรียบเทียบกับไม้มะม่วงป่าที่อุทยานแห่งชาติรามคำแหง จ.สุโขทัย ส่งมา
เปรียบเทียบจำนวน 3 ตัวอย่างและไม้มะม่วงบ้าน ในบริเวณพื้นที่ชาวบ้านที่อยู่ในบริเวณอุทยานแห่งชาติ
ดังกล่าว 10 ตัวอย่างได้แก่ มะม่วงน้ำดอกไม้ มะม่วงเขียวเสวย มะม่วงพิมเสน มะม่วงโชคอนนั ต์ มะม่วงเขียว
ใหญ่ มะมว่ งฟา้ ลนั่ มะมว่ งกะลอ่ นบ้าน มะมว่ งเพชรบา้ นลาด มะมว่ งแก้ว และมะมว่ งกล้วย พบวา่ ชิน้ สว่ นของ
ดีเอ็นเอของชิ้นมะม่วงของกลางที่ได้จาก PCR product มีขนาดเท่ากับมะม่วงพันธุ์พื้นเมือง (380 bp.) แต่มี
ขนาดต่างจากมะม่วงป่า (680 bp.) และพบว่า Variable nucleotide sites ใน non-coding trnH-psbA
spacer region ในคลอโรพลาสดีเอ็นเอของชิ้นไม้มะม่วงของกลางเหมือนกับของมะม่วงบ้านและต่างจาก
มะม่วงป่า นอกจากนี้ตัวอย่างไม้ของกลางมีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้เคียงกับมะม่วงบ้านและพบว่า
species specific variable nucleotide site ของมะม่วงป่า (Mangifera spp.) ในส่วนของคลอโรพลาสต์
จโี นม คือ trnH-psbA (intergenic spacer) มีท้งั หมด 44 ตำแหน่ง มีการเปลยี่ นแปลงลำดบั เบสแบบ point
mutation ในรูปแบบ transitions คือมีการแทนที่เบส purine ด้วย เบส purine หรือ แทนที่เบส
pyrimidine ด้วยเบส pyrimidine เช่น A ↔ G และ C ↔ T และมีการเปลี่ยนแปลงลำดับเบสแบบ point
mutation ในรูปแบบ transversion คือมีการแทนที่เบส purine ด้วย เบส pyrimidine หรือ แทนที่เบส

179

pyrimidine ดว้ ยเบส purine เชน่ A ↔ T , C ↔ G, A ↔ C และ T ↔ G รายละเอยี ดผลการศึกษาความ
แตกตา่ งของลำดับนิวคลีโอไทดแ์ ละความสมั พนั ธท์ างพันธุกรรม ได้แสดงใน Changtragoon et al. (2017)

สรุปผลการวนิ จิ ฉยั พนั ธุกรรม

1. การศึกษาวิจัยตัวอย่างเนื้อไม้ของกลางต้องสงสัยจำนวน 1 ตัวอย่าง ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์โดย
การถอดรหัสพันธุกรรมยีนในส่วนของคลอโรพลาสต์จีโนม คือ psbA-trnH พบว่าตัวอย่างเนื้อไม้ของกลางมี
ความสมั พันธ์ทางพันธกุ รรมใกล้เคยี งกบั ไม้มะมว่ งท่ีเปน็ มะมว่ งบ้าน

2. ได้จัดส่งรายงานผลการวินิจฉัยพันธุกรรมอย่างเป็นทางการจากกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธ์พุ ชื ไปยัง สำนกั บรหิ ารพนื้ ทีอ่ นุรักษ์ที่ 14 (ตาก) ที่ ทส 0924.5/2232 ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2558
เพ่อื ดำเนนิ ตามขั้นตอนต่อไป

180

บทท่ี 20

คดีนติ วิ ิทยาศาสตรโ์ ดยใช้เครอ่ื งหมายดีเอ็นเอ คดที ่ี 3: การพสิ จู นต์ วั อย่างเนื้อไม้ของกลางวา่
เปน็ ไม้พะยงู (Dalbergia cochinchinensis) หรอื ไม้บนุ นาค/นากบดุ (Mesua ferrea)

โดยใชว้ ิธีพสิ ูจน์ลักษณะทางกายวภิ าคภายใต้กล้องสเตอริโอไมโครสโคป (Stereo
Microscope) และถอดรหัสพันธุกรรม

คำนำ

ด้วยสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 (สงขลา) มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ ทส 0916.303/4961 ลงวันที่ 22
มิถนุ ายน 2560 รายงานว่า คณะกรรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง ตามคำสั่งสำนักบรหิ ารพืน้ ทอ่ี นรุ กั ษท์ ี่ 6 ท่ี 140/2560
ลงวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ได้ทำการตรวจสอบไม้ของกลางที่เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ตรวจยึด
เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2556 คือไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ท่อน จำนวน 9 ท่อน ปริมาตร 0.58
ลกู บาศก์เมตร คดอี าญาท่ี 287/2556 ยึดทรพั ยท์ ี่ 109/2556 ของสถานตี ำรวจภูธรนาโยงซง่ึ เกบ็ รักษาไว้ ณ ที่ทำการ
หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ขป.3 (บ้านน้ำราบ) และคณะกรรมการฯ ได้ลงความเห็นร่วมกันว่าไม้ของกลาง
ดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไม้พะยูง (D. cochinchinensis) ตามที่เจ้าหน้าที่ตรวจยึดไว้ แต่น่าจะเป็นชนิดไม้นากบุด ดังน้ัน
เพอื่ ให้เกิดความชดั เจนเกีย่ วกบั ไม้ของกลางดงั กล่าว เหน็ ควรใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญทางด้านพสิ ูจน์เนื้อไม้ของกลางดังกล่าว มา
พิสูจน์เนื้อไม้ของกลางว่าเป็นไม้ชนิดใดจะได้แจ้งให้อุทยานเขาปู่-เขาย่า ได้รายงานและดำเนินการต่อไป ซึ่งผู้เขียน
ไดร้ ับมอบหมายตามสายงานให้ตรวจพิสจู น์ไม้ของกลางดงั กลา่ ว

วิธีการวนิ จิ ฉัยพันธกุ รรม
เนื่องจากเนื้อไม้ที่ส่งมาวินิจฉัยชนิดพันธุ์มีลักษณะมียางเหนียวในเนือ้ ไม้ซึ่งยากต่อการสกัดดีเอ็นเอจึงได้

ทำการศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของไม้รว่ มดว้ ยดงั น้ี
1. วิเคราะห์ลักษณะทางกายวภิ าคของไม้ standard โดยเปรียบเทียบและอ้างอิงจาก อทุ ารัตน์ และ คณะ

(2559) ได้แก่ ไม้พะยูง (D. cochinchinensis Pierre) และไม้บุนนาค/นากบุด (Mesua ferrea Linn.) ภายใต้
กล้องสเตอริโอไมโครสโคป (Stereo Microscope) ขนาด 500 µm พบว่า ลักษณะทางกายวิภาคของไม้พะยูง
(D. cochinchinensis) พบวา่ พอร์สว่ นมากเป็นพอร์เดีย่ ว (solitary pore) พอร์แฝด (multiple pore) มีน้อย แบบ
ของการเรียงตัวไม่เด่นชัด การกระจายเป็นแบบ กระจัดกระจาย (diffuse pore) พอร์ใหญ่ทางภายในพอร์มีสาร
ตกค้าง (deposit) เป็นบางพอร์ เส้นเรย์เห็นไม่ค่อยชัด พาเรงคิมาเป็นแบบ พาเรงคิมาแบบปีก (aliform
parenchyma) และ พาเรงคิมาแบบปีกต่อ (confluent parenchyma) มีลายริ้ว (ripple mark) ดังภาพที่ 20.1
สว่ นลกั ษณะทางกายวิภาคของไมบ้ นุ นาค/นากบดุ (Mesua ferrea) พบว่าพอร์ เปน็ แบบพอรเ์ ด่ยี ว (solitary pore)
ส่วนมากพอร์แฝด (multiple pore) มีน้อย การเรียงเป็นแบบพอร์เฉียง (pore oblique) การกระจายเป็นแบบ
กระจัดกระจาย (diffuse pore) พอร์ใหญ่ทางภายในพอร์มีไทโลส (tylose) เกือบทุกพอร์ และ มีสารตกค้าง


Click to View FlipBook Version