30.07.2014 Views

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เทคนิคในการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางสัตวทะเล<br />

Specimen preservation techniques<br />

โดย<br />

จรัสศรี อางตันญา<br />

Charatsee Aungtonya<br />

วัชราภรณ ไตรพาณิชยกุล<br />

Watcharaporn Tripanichkul<br />

กรอร วงษกําแหง<br />

Koraon Wongkamkaeng<br />

เตือนใจ พันธธร<br />

Tuanjai Panton<br />

สุจินต อินทรัตน<br />

Sujin Intarat<br />

สุรสิทธิ์ อุตสาหะ Surasit Utsaha<br />

เอกสารเผยแพร กลุมพิพิธภัณฑและสถานแสดงพันธุสัตวและพืชทะเล ลําดับที่ 3<br />

สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน<br />

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง<br />

มกราคม 2549


คํานํา<br />

การดําเนินงานในพิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล (Reference Collection) สถาบันวิจัยและพัฒนา<br />

ทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน ประกอบดวยหลายขั้นตอนซึ่งอาจจะแยกออกเปนขอ ๆ ได<br />

ดังนี้ คือ การเก็บรวบรวมตัวอยาง (Sample collection) การแยกกลุมสัตวและพืชทะเล (Sorting) การคง<br />

สภาพและเก็บรักษาตัวอยาง (Fixation and preservation) การวิเคราะหจําแนกชนิด (Identification) การ<br />

จัดทําทะเบียนตัวอยาง (Documentation) และการดูแลรักษาประจําวัน (Routine maintenance) ใน<br />

โอกาสนี้จะกลาวถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมตัวอยาง การแยกกลุมสัตวอยางคราว ๆ การคงสภาพและการ<br />

เก็บรักษาตัวอยาง โดยเนนถึงเทคนิคในการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางสัตวทะเล<br />

การเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางสัตวและพืชทะเล เพื่อเปนหลักฐานอางอิงและศึกษาตอไปอีกใน<br />

อนาคต มีขั้นตอนและวิธีการหรือเทคนิคแตกตางกันออกไปตามแตชนิดของตัวอยาง เพื่อจุดประสงคที่จะได<br />

ตัวอยางที่ดีครบถวนสมบูรณ โดยตัวอยางไมแตกหัก หดตัวหรือเหี่ยวยน ฯลฯ นักวิจัยหลายคนไดมีการ<br />

ทดลอง คนควาและใหความคิดเห็นแตกตางกันออกไปเกี่ยวกับชนิดของสารหรือน้ํายาเคมีที่ใช ชนิดของสัตว<br />

ทะเลและระยะเวลา ปจจุบันยังสรุปไมไดแนชัดวาสารหรือน้ํายาเคมีใดดีที่สุดและใหประโยชนไดคุมคามาก<br />

ที่สุด<br />

การเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางที่จะกลาวตอไปนี้สวนใหญใชกับสัตวทะเลไมมีกระดูกสันหลัง<br />

(Marine Invertebrates) ขั้นตอนและวิธีการเหลานี้เปนเพียงแนวทางเบื้องตนสําหรับผูที่สนใจ ซึ่งไดจาก<br />

การคนควาจากเอกสาร จากการศึกษาทดลองและจากประสบการณของเจาหนาที่ของพิพิธภัณฑสัตวและพืช<br />

ทะเล การเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางอาจมีขั้นตอนและวิธีการที่ดีกวานี้อีก ซึ่งผูที่สนใจควรจะไดมีการศึก-<br />

ษาและคนควาเพิ่มเติมตอไปอีก<br />

หนังสือเลมนี้ไดจัดทําขึ้น เพื่อเผยแพรความรูดานเทคนิคในการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางสัตว<br />

ทะเล รวมถึงวิธีการที่ใชในการคืนสภาพตัวอยางแหง ซึ่งเปนปญหาใหญประการหนึ่งในการเก็บรักษา<br />

ตัวอยางของพิพิธภัณฑฯ ในปจจุบัน เพื่อเปนแนวทางใหแกสถาบันหรือผูที่สนใจไดพิจารณานําไปใช<br />

ประโยชนตอไป<br />

(นายวรรณเกียรติ ทับทิมแสง)<br />

ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน


สารจากหัวหนากลุมพิพิธภัณฑและสถานแสดงพันธุสัตวและพืชทะเล<br />

พิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน<br />

เปนพิพิธภัณฑทางธรรมชาติวิทยา ซึ่งแบงไดเปน 2 ประเภท คือ พิพิธภัณฑที่เก็บตัวอยางเพื่อจัดแสดงให<br />

บุคคลทั่วไปชม และพิพิธภัณฑที่เก็บตัวอยางเพื่อประโยชนในการศึกษาทางวิทยาศาสตรและคนควาทาง<br />

วิชาการในการศึกษาทางดานชีววิทยา<br />

พิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล มีการเก็บรักษาตัวอยางสัตวและพืชทะเลเพื่อเปนหลักฐานอางอิง<br />

ทางการศึกษาวิจัยความหลากหลายชีวภาพทางทะเล แตเนื่องจากสัตวและพืชทะเลมีจํานวนมากมายหลาย<br />

ชนิด ตัวอยางที่ตองการเก็บรักษาจึงตองใชวิธีการหรือเทคนิคแตกตางกันออกไปตามแตชนิดของกลุม การใช<br />

เทคนิคเหลานี้ก็เพื่อจุดประสงคที่จะเก็บรักษาตัวอยางที่ตายไวไมใหเนาเปอย และมีสภาพที่ใกลเคียงกับ<br />

สภาพที่มีชีวิตอยูมากที่สุด<br />

การเก็บรวบรวมตัวอยาง ผูเก็บจะตองคํานึงถึงจุดมุงหมายในออกเก็บรวบรวมตัวอยาง ฤดูกาลหรือ<br />

ชวงเวลาในการออกเก็บตัวอยาง การที่จะใหไดตัวอยางที่ดีและสามารถเก็บรักษาไวไดนาน ๆ นั้น ควรที่จะ<br />

ศึกษาชีวประวัติ (life history) ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ เชน ถิ่นอาศัย ชวงเวลาออกหากิน ฤดูกาลที่สัตวนั้น ๆ มี<br />

มาก เปนตน ควรคํานึงถึงปริมาณตัวอยางที่ตองการ ไมควรเก็บตัวอยางมากเกินความจําเปน รวมถึง<br />

หลีกเลี่ยงการเก็บตัวอยางตัวออนหรือตัวไมเต็มวัย ทั้งนี้เพื่อใหเกิดผลกระทบตอประชากรในธรรมชาตินอย<br />

ที่สุด และคํานึงถึงสถานที่ที่จะเก็บรวบรวมตัวอยาง โดยทั่วไปแหลงเก็บรวบรวมตัวอยางจะเปนถิ่นอาศัยตาม<br />

ธรรมชาติ แตก็สามารถเก็บรวบรวมตัวอยางไดจากสถานที่อื่น เชน ทาเทียบเรือประมงหรือสะพานปลา<br />

ตลาดสด นอกจากนี้ผูเก็บควรคํานึงถึงคาใชจายสําหรับการออกเก็บตัวอยาง ทั้งนี้เพื่อที่จะไดวางแผนการเก็บ<br />

ตัวอยางใหเหมาะสม ศึกษาขั้นตอนและวิธีการเตรียมตัวอยางและเก็บรักษาตัวอยางที่เราตองการเก็บ เพื่อให<br />

เหมาะสมกับตัวอยางแตละกลุม และเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ สําหรับเก็บตัวอยาง รวมถึงสารหรือ<br />

น้ํายาเคมีที่จําเปนใหพรอม<br />

หนังสือเลมนี้ไดจัดทําขึ้น เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมตัวอยาง การคงสภาพและการ<br />

เก็บรักษาตัวอยาง โดยเนนถึงเทคนิคในการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางสัตวทะเล รวมถึงวิธีการที่ใชในการ<br />

คืนสภาพตัวอยางแหง ซึ่งเปนเทคนิคที่ใชอยูที่ Natural History Museum ประเทศอังกฤษ เพื่อเปน<br />

แนวทางใหแกสถาบัน นักวิชาการหรือผูที่สนใจไดพิจารณานําไปใชประโยชนตอไป<br />

(ดร. สมชัย บุศราวิช)<br />

หัวหนากลุมพิพิธภัณฑและสถานแสดงพันธุสัตวและพืชทะเล


i<br />

สารบัญ<br />

หนา<br />

บทนํา 1<br />

การเก็บรวบรวมตัวอยาง (Sample collection) 1<br />

การแยกกลุมตัวอยางคราวๆ (Sorting) 3<br />

การเตรียมตัวอยางและเก็บรักษาสัตวทะเล 3<br />

- การทําใหสัตวสลบหรือชา (Narcotization, Relaxation, Anaesthetization) 4<br />

- สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการทําใหสลบหรือชา (Narcotizing agents) 4<br />

- การคงสภาพตัวอยาง (Fixation) 6<br />

- สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการคงสภาพตัวอยาง (Fixative) 6<br />

- การเก็บรักษาถาวร (Preservation) 9<br />

- สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการเก็บรักษาตัวอยาง (Preservative) 10<br />

- สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการคืนสภาพตัวอยางแหง 12<br />

การเก็บรักษาสัตวทะเลในแตละกลุม 12<br />

- Protozoa (โปรโตซัว) 13<br />

- Porifera (ฟองน้ํา) 16<br />

- Coelenterata หรือ Cnidaria 16<br />

- Hydrozoa 16<br />

- Scyphozoa และ Cubozoa 17<br />

- Anthozoa 17<br />

- Ctenophora (หวีวุน, comb jelly, sea gooseberries) 19<br />

- Platyhelminthes (หนอนตัวแบน) 20<br />

- Nemertea หรือ Rhynchocoela (หนอนริบบิ้น, ribbon- or proboscis-worms) 21<br />

- Aschelminths 22<br />

- Gastrotricha 22<br />

- Nematoda 23<br />

- Nematomorpha (horsehair worms) 24<br />

- Rotifera 24<br />

- Kinoryncha 25<br />

- Tadigrada (water bears) 25<br />

- Sipuncula (peanut worms) 26


การเก็บรักษาสัตวทะเลในแตละกลุม (ตอ)<br />

- Echiura (spoon worms) 26<br />

- Priapulida 27<br />

- Mollusca 27<br />

- Annelida 30<br />

- Polychaeta (ไสเดือนทะเล) 30<br />

- Pogonophora 31<br />

- Arthropoda 32<br />

- Xiphosura (horseshoe crabs) 32<br />

- Pycnogonida (sea spiders) 33<br />

- Crustacea 33<br />

- Hemichordata 35<br />

- Urochordata (tunicates) 36<br />

- Cephalochordata (lancelets) 37<br />

- Chaetognatha (หนอนธนู, arrow worms) 37<br />

- Echinodermata 38<br />

- Bryozoa (Polyzoa หรือ Ectoprocta) 40<br />

- Entoprocta 41<br />

- Brachiopoda (lamp shells) 42<br />

- Chordata (Pisces) 42<br />

คําขอบคุณ 46<br />

เอกสารที่ใชประกอบการเรียบเรียง 47<br />

ii


เทคนิคในการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางสัตวทะเล<br />

(Specimen preservation techniques)<br />

จรัสศรี อางตันญา วัชราภรณ ไตรพาณิชยกุล 1 กรอร วงษกําแหง เตือนใจ พันธธร 2 สุจินต อินทรัตน<br />

และ สุรสิทธิ์ อุตสาหะ<br />

บทนํา<br />

ขั้นตอนและวิธีการในการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางขึ้นกับวัตถุประสงคในการเก็บตัวอยางและ<br />

กลุมประเภทของตัวอยางสิ่งมีชีวิตที่เก็บ โดยทั่วไปการเก็บรวบรวมตัวอยางสิ่งมีชีวิตมีหลายวัตถุประสงค<br />

เชน ประกอบการเรียนการสอนและเพื่องานวิจัย เชน งานดานอนุกรมวิธานหรือการศึกษาทางนิเวศวิทยาและ<br />

ชีวิตสัตวทะเล หรือเพื่อเก็บรวบรวมไวในพิพิธภัณฑเปนตัวอยางเปรียบเทียบอางอิงรวมถึงการจัดแสดง<br />

เผยแพรความรู ในโอกาสนี้จะกลาวถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมตัวอยางสัตวทะเลเพื่อเขาพิพิธภัณฑ การแยก<br />

กลุมสัตวอยางคราว ๆ การคงสภาพและการเก็บรักษาตัวอยางถาวร โดยเนนถึงเทคนิคในการเตรียมและเก็บ<br />

รักษาตัวอยางสัตวทะเล<br />

การเก็บรวบรวมตัวอยาง (Sample collection)<br />

ตัวอยางสัตวทะเลสําหรับพิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเลของสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล<br />

ชายฝงทะเล และปาชายเลน นั้น สวนใหญเปนตัวอยางที่ไดจากโครงการวิจัยหลายโครงการที่ไดปฏิบัติ<br />

ติดตอกันมากกวายี่สิบป เชน ตัวอยางจากการสํารวจชีววิทยาทางทะเลระหวางไทย–เดนมารกครั้งที่ 5 (The<br />

Fifth Thai–Danish Expedition) ตัวอยางจากโครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพสัตวและพืช<br />

บริเวณไหลทวีปฝงทะเลอันดามันของประเทศไทย ตัวอยางจากโครงการวิจัยเกี่ยวกับปาชายเลน แนว<br />

ปะการัง สภาพแวดลอมตามบริเวณตาง ๆ ตั้งแต จ. ระนอง ถึง จ. สตูล ฯลฯ ตัวอยางสัตวทะเลจากโครงการ<br />

เหลานี้เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงานก็จะนําเขาเก็บรักษาไวที่พิพิธภัณฑฯ สวนวิธีการเก็บรวบรวมตัวอยางมีหลาย<br />

วิธีขึ้นอยูกับโครงการวิจัยแตละโครงการ<br />

การเก็บรวบรวมตัวอยางเพื่อเขาพิพิธภัณฑสวนใหญจะเปนทางดานการศึกษาชนิด (Qualitative)<br />

เครื่องมือและวิธีการเก็บจึงไมยุงยากซับซอนมาก สวนการเก็บเพื่อศึกษาทางดานปริมาณ (Quantitative) อาจ<br />

1 ปจจุบันเปนนักศึกษาปริญญาโท สาขา Integrated Tropical Coastal Zone Management, School of<br />

Environment, Resources and Development, Asian Institute of Technology (AIT)<br />

2 ปจจุบันดํารงตําแหนง เจาพนักงานประมง ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลาง จ.<br />

ชุมพร<br />

1


้<br />

มีขอจํากัดเกี่ยวกับประเภทของเครื่องมือและตองคํานึงถึงรายละเอียดของวิธีการเก็บมากขึ้น มีเอกสารและ<br />

ตํารามากมายที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมตัวอยางสิ่งมีชีวิตในทะเล และอาจจะกลาวไดวานักชีววิทยาทางทะเล<br />

แทบทุกสาขาไดพัฒนาเครื่องมือเก็บรวบรวมตัวอยางในสาขาของตนขึ้นมามากมาย ในที่นี้จะกลาวถึง<br />

เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมตัวอยางโดยสังเขป (รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจากคูมือการใชเครื่องมือ<br />

สํารวจสมุทรศาสตร คูมือการศึกษาแพลงกตอนเบื้องตน และปทานุกรมเครื่องมือทําการประมงของประเทศ<br />

ไทยของกองสํารวจแหลงประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ) โดยแบงตามรูปแบบการ<br />

ดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่อยูในทะเลอยางกวาง ๆ เปนหลัก ดังนี<br />

1. แพลงกตอน (Plankton) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูอยางอิสระในน้ําทะเล ลองลอยพัดพาไปกับ<br />

กระแสน้ําในทะเล สิ่งมีชีวิตเหลานี้สวนใหญมีขนาดเล็ก แตแพลงกตอนนี้อาจรวมถึงแมงกะพรุนบางชนิดที่มี<br />

ขนาดใหญ ซึ่งอาจมีขนาดถึง 1 เมตร การเก็บรวบรวมตัวอยางแพลงกตอนใชถุงลากแพลงกตอน (plankton<br />

net) ซึ่งมีขนาดตาตางกันออกไปตามแตวัตถุประสงคของโครงการวิจัย<br />

2. เนคตอน (Nekton) หมายถึง สัตวที่อาศัยอยูในน้ําทะเลตางกับแพลงกตอนคือสัตวกลุมนี้สามารถ<br />

วายทวนตานกระแสน้ําได โดยปกติเนคตอนมีขนาดใหญกวาพวกแพลงกตอน ตัวอยางเหลานี้ ไดแก ปลา<br />

หมึกและสัตวเลี้ยงลูกดวยนมในทะเลทั้งหมด การเก็บรวบรวมตัวอยางสัตวเหลานี้ใชเครื่องมือที่ชาวประมง<br />

ใชทั่วไป คือ ลอบ อวนชนิดตาง ๆ เชน อวนลอม อวนลากกลางน้ํา อวนลอย ฯลฯ หรืออาจเก็บรวบรวม<br />

ตัวอยางจากแพปลา แตเนคตอนบางชนิด เชน ปลาและหมึกขนาดเล็กหรือสัตวกลุมครัสเตเซียนบางกลุมที่มี<br />

ขนาดเล็กซึ่งบางครั้งไมสามารถจับไดดวยเครื่องมือดังกลาวอาจใชถุงแพลงกตอนในการเก็บรวบรวมได<br />

เชนเดียวกัน<br />

3. สัตวทะเลหนาดิน (Benthos) สิ่งมีชีวิตประเภทนี้ประกอบดวยสัตวซึ่งอาศัยอยูบนหรือในดินพื้น<br />

ทะเลตั้งแตระดับน้ําขึ้นสูงสุดไปจนถึงสวนที่ลึกที่สุดของมหาสมุทร ถิ่นที่อยู (habitat) ของสิ่งมีชีวิตกลุมนี้<br />

จึงแตกตางกันออกไปหลายแบบ เชน หาดหิน หาดทราย หาดโคลน ฯลฯ การเก็บตัวอยางสัตวทะเลจึงใช<br />

วิธีการแตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะถิ่นที่อยู สัตวทะเลที่อยูบนหาดหินเก็บรวบรวมโดยใชมือ ปากคีบ หรือ<br />

มีดแซะ ตัวอยางสัตวที่อาศัยอยูตามรอยแตกหรือเจาะรูอยูในปะการัง กอนหิน บางครั้งตองใชคอนทุบ<br />

ปะการังหรือกอนหินใหแตกเสียกอน สัตวตามแองหิน (rock pool) ใชเครื่องมือหรือสวิงชอน สวนสัตวที่<br />

อาศัยอยูตามหาดทราย หาดโคลน ใชเครื่องมือรวบรวมประเภท จอบ เสียม หรือพลั่วขุด บางครั้งตองใช<br />

ตะแกรงรอนขนาดตาตาง ๆ กัน เพื่อรอนแยกสัตวออกจากตะกอนดิน สวนสัตวที่อาศัยอยูในบริเวณน้ําลึก<br />

หางจากชายฝงทําการเก็บรวบรวมไดโดยเครื่องมือหลายชนิด เชน การดําน้ําโดยใชเครื่องหายใจใตน้ํา<br />

(scuba diving) เครื่องตักดิน (grab) คราด (dredge) และอวนลากหนาดิน (trawl) ฯลฯ<br />

ตัวอยางที่รวบรวมไดตองเขียนปาย (label) ใสไวภายในขวดหรือภาชนะเก็บตัวอยาง ไมควรเขียน<br />

ปายไวภายนอก เพราะอาจสูญหายและฉีกขาดไดงาย ปายที่ใชควรเปนปายกระดาษที่มีคุณภาพดี ไมเปอยยุย<br />

เมื่อถูกน้ําหรือน้ํายาคงสภาพ และควรใชหมึกอินเดียนอิงคเขียนเพราะไมลบเลือนเมื่อถูกน้ํา หรืออาจใช<br />

2


ดินสอเขียนลงบนปายพลาสติกไดเชนเดียวกัน ปายควรมีขนาดที่พอเหมาะกับขวดหรือภาชนะที่บรรจุ<br />

ตัวอยาง รายละเอียดที่เขียนในปายควรมีดังนี้ คือ วันที่เก็บตัวอยาง (date of collection) สถานที่ (locality)<br />

ความลึก (depth) เครื่องมือ (gear) ผูเก็บรวบรวม (collector) สวนรายละเอียดขอมูลอื่น ๆ ควรจดบันทึกลง<br />

ในสมุดบันทึกแยกตางหาก โดยพยายามจดขอมูลใหมากที่สุด เชน ลักษณะพื้นทะเล ละติจูด ลองติจูด<br />

การแยกกลุมสัตวอยางคราว ๆ (Sorting)<br />

เมื่อทําการรวบรวมตัวอยางในสนามไดแลว ควรจะทําการแยกกลุมสัตวออกอยางคราว ๆ (sorting)<br />

เสียกอนจากนั้นจึงนําไปทําการคงสภาพใหเร็วที่สุด เพราะตัวอยางจะเนาสลาย (autolysis) ไดอยางรวดเร็ว<br />

โดยเฉพาะในทะเลแถบรอนอยางประเทศไทย ตัวออนแพลงกตอนโดยปกติสามารถคงสภาพไดทันที<br />

หลังจากเก็บรวบรวมได แตตัวอยางสัตวทะเลหนาดินตองทําการลางตะกอนดินหรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ ออก<br />

เสียกอน และสัตวบางกลุมตองทําใหชาหรือสลบกอนที่จะทําการคงสภาพซึ่งจะไดกลาวตอไป<br />

การแยกกลุมสัตวคราว ๆ นี้โดยปกติจะแยกออกเปนกลุมตามไฟลัม (Phylum) หรือต่ํากวา เชน แยก<br />

ออกเปนกลุม Porifera, Coelenterata (แยกยอยเปนชั้น (Class) Anthozoa และกลุมอื่น ๆ),<br />

Brachiopoda, Mollusca (แยกยอยเปนชั้น Cephalopoda, Bivalvia, Gastropoda, Monoplacophora,<br />

Polyplacophora, และ Scaphopoda), Polychaeta, Crustacea (แยกยอยเปนชั้น Decapoda,<br />

Stomatopoda และกลุมอื่น ๆ), Echinodermata (แยกออกเปนชั้น Asteroidea, Crinoidea,<br />

Echinoidea, Holothuroidea และ Ophiuoirdea) และ Fishes เปนตน<br />

เมื่อนําตัวอยางที่เก็บรวบรวมไดจากภาคสนามเขายังหองปฏิบัติการ ตัวอยางบางกลุมก็ตองทําการ<br />

แยกคัดออกเปนกลุมยอย ๆ ลงไปอีกเทาที่จะทําได ซึ่งตัวอยางที่มีขนาดเล็กตองทําการจําแนกภายใตกลอง<br />

จุลทรรศน เชน กลุม Crustacea แยกยอยกลุมอื่น ๆ เปนชั้น Branchipoda, Copepoda, Cirripedia,<br />

Ostracoda และอันดับ Amphipoda, Cumacea, Isopoda, Mysidacea, Tanaidacea และกลุม<br />

crustaceans อื่น ๆ เปนตน<br />

การเตรียมตัวอยางและเก็บรักษาสัตวทะเล<br />

เมื่อทําการแยกกลุมออกคราว ๆ แลว จากนั้นนํามาเก็บรักษาสภาพ แตเนื่องจากการศึกษาทางดาน<br />

อนุกรมวิธาน สัตวแตละกลุมจะมีลักษณะโครงสรางแตกตางกันออกไป การเก็บรักษาตัวอยางเพื่อใหได<br />

ตัวอยางที่ดี จึงตองใชวิธีการแตกตางกันโดยขึ้นอยูชนิดของกลุมสัตว ขั้นตอนในการเตรียมตัวอยางและเก็บ<br />

รักษาสัตวทะเลที่จะกลาวตอไปนี้มีขั้นตอนใหญ ๆ อยู 3 ขั้นตอนดวยกัน คือ<br />

1. การทําใหสัตวสลบหรือชา (Narcotization, Relaxation, Anaesthetization)<br />

2. การคงสภาพ (Fixation)<br />

3. การเก็บรักษาถาวร (Preservation)<br />

3


สําหรับการเตรียมตัวอยางและเก็บรักษาสัตวแตละกลุมหรือไฟลัมนั้นไดแสดงไวในตารางที่ 1 การ<br />

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเตรียมและเก็บรักษาตัวอยางนี้บางครั้งไมสามารถปฏิบัติในสนามได ตองนําตัวอยาง<br />

กลับมาปฏิบัติตอที่หองปฏิบัติการ นอกจากนี้ควรเปลี่ยนขวดหรือภาชนะที่เก็บรักษาตัวอยางชั่วคราวมาเปน<br />

ขวดที่เก็บรักษาถาวรในพิพิธภัณฑ และเปลี่ยนน้ํายาคงสภาพเปนน้ํายารักษาถาวร เมื่อทําการรักษาสภาพ<br />

ตัวอยางในน้ํายาเก็บรักษาถาวรแลว ตัวอยางเหลานี้ก็พรอมที่จะสงไปใหนักอนุกรมวิธานเพื่อการวิเคราะห<br />

จําแนกชนิด<br />

การทําใหสัตวสลบหรือชา (Narcotization, Relaxation, Anaesthetization) เปนขบวนการที่<br />

ทําใหสัตวชา หรือหมดความรูสึกอยางชา ๆ สลบหรืออาจถึงตาย สัตวทะเลบางจําพวกตองผานขบวนการนี้<br />

เสียกอนที่จะนําไปคงสภาพและเก็บรักษาถาวรตอไป เพื่อปองกันมิใหสัตวเกิดการสลัดสวนตาง ๆ ของ<br />

รางกาย หรือแยกตัวออกเปนทอน ๆ (autotomy/self-fragmentation) รวมทั้งการทําใหสวนตาง ๆ บิด<br />

เบี้ยว หรือผิดรูปไป ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการใชสารคงสภาพ (fixing agent) ตัวอยางสัตวทะเลที่มีการสลัด<br />

สวนตาง ๆ หรือแยกออกเปนทอน ๆ เชน พวกปูที่สลัดกาม หรือขา หนอนทะเลที่แบงตัวเองขาดออกเปน<br />

สวน ๆ และในพวกดาวเปราะ (brittle star) เปนตน สัตวทะเลบางชนิดที่มีหนวด (tentacles) เชน พวก<br />

ปลิงทะเล (sea cucumber) ดอกไมทะเล (sea anemones) ฯลฯ มักจะหดหนวดเขาสูปากหรือลําตัว การ<br />

ทําใหชาจะชวยใหสัตวเหลานี้ยืดหนวดออกมา บางชนิดมีการหดตัวยนเมื่อถูกน้ํายาคงสภาพ เมื่อทําใหหมด<br />

ความรูสึกตัวอยางจะอยูในสภาพขยายยืดตัวเต็มที่สะดวกในการศึกษา ตัวอยางสัตวทะเลที่จะทําใหสลบหรือ<br />

ชาควรใสในภาชนะที่มีน้ําทะเลอยูทวมลําตัวแลวจึงเติมสารที่ทําใหชาหรือหมดความรูสึกลงไป สารนี้เรียกวา<br />

narcotizing agents หรือ relaxative มีอยูดวยกันหลายชนิด<br />

สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการทําใหสลบหรือชา (Narcotizing agents)<br />

1. ดีเกลือ (Epsom salts) หรือแมกนีเซียมซัลเฟต (Magnesium sulphate, MgSO 4 –7H 2 O) หากใช<br />

ในรูปแบบสารละลายอิ่มตัวใชทําใหสัตวชาโดยการแชตัวอยางลงไปในสารละลายนี้โดยตรง แตถา<br />

ใชในรูปแบบเกล็ดจะไดผลดีกวา โดยโรยเกล็ดดีเกลือลงไปทีละนอยในภาชนะที่บรรจุตัวอยางใน<br />

น้ําทะเล ปลอยทิ้งไวใหสัตวหมดความรูสึกไปชา ๆ ดีเกลือใชไดผลดีกับสัตวทะเลหลายกลุม เชน<br />

ทากทะเล (nudibranch) และลิ่นทะเล (chiton) เปนตน โดยปกติมักใชในอัตราสวน ดีเกลือ 150<br />

กรัม ตอน้ําทะเล 1 ลิตร<br />

2. Glauber’s salts หรือแมกนีเซียมคลอไรด (Magnesium chloride, MgCl 2 ) โดยปกติใชใน<br />

รูปแบบสารละลายที่มีความเขมขน 7.5% ของ MgCl 2 6H 2 O (ประมาณ 80 กรัม ละลายในน้ํากลั่น 1<br />

ลิตร) นําตัวอยางลงแชไวประมาณ 30 นาที ถึง 4 ชม. ขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของสัตว<br />

3. เมนทอล (Menthol) เปนสารที่นิยมใชกันมาก โรยเกล็ดเมนทอลลงไปในภาชนะที่บรรจุตัวอยางใน<br />

น้ําทะเล ระยะเวลาที่ใชในการทําใหสัตวชาอาจนานถึง 12 ชม.<br />

4


4. คลอรัลไฮเดรต (Chloral hydrate) ใชไดผลดีกับสัตวหลายชนิดทั้งน้ําจืดและน้ําทะเล โดยโรยเกล็ด<br />

ลงไปในภาชนะที่มีตัวอยางสัตวแชน้ําอยู หรือแชสัตวลงในสารละลาย 5–10% คลอรัลไฮเดรต<br />

โดยตรง<br />

5. น้ํามันกานพลู (Clove oil) ใชไดผลดีกับสัตวกลุมครัสเตเซียน (crustaceans) เพื่อปองกันการสลัด<br />

ขา โดยหยดน้ํามันกานพลูในน้ําทะเล 3–4 หยด<br />

6. แอลกอฮอล (Alcohol) มักใชกับสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดใหญ โดยใชที่ความเขมขน 50–70%<br />

คอย ๆ หยดลงไปในน้ําที่แชตัวอยางอยูจนสัตวออนเพลียหมดความรูสึก หรืออาจใชสารผสมที่<br />

เรียกวา Lo Bianco’s mixture ซึ่งประกอบดวย<br />

70% เอทานอล (Ethanol) 40 สวน<br />

กลีเซอรีน (Glycerine)<br />

20 สวน<br />

น้ํา 40 สวน<br />

เทสารผสมนี้ลงในน้ําปลอยใหผสมเขากัน สารผสมนี้ใชกับสัตวไมมีกระดูกสันหลังไดดี<br />

7. คลอรีโทน (Chloretone) หรือ Acetone chloroform มีลักษณะเปนผลึกไมมีสี มีกลิ่นคลาย<br />

การบูร ละลายน้ําไดเล็กนอย ใชกับสัตวทะเลไดหลายชนิด โดยโรยผลึกลงบนผิวน้ําจนสัตวหมด<br />

ความรูสึก<br />

8. MS 222–Sandoz เปนชื่อทางการคาของ Ethyl m–aminobentazoate ใชไดดีกับสัตวกลุมครัสเต<br />

เซียนโดยเฉพาะชั้นมาลาคอสตรากา (Class Malacostraca) โดยปกติใชที่ความเขมขน 0.01–0.2%<br />

9. โพรพีลีนฟนอกซีทอล (Propylene phenoxetol) ใชโดยใสตัวอยางในภาชนะที่มีน้ําทะเลหรือน้ํา<br />

จืดอยู แลวจึงเติมสารละลายโพรพีลีนฟนอกซีทอลลงไปไมมากกวา 1% ของปริมาตรน้ําที่อยูใน<br />

ภาชนะนั้น ใชไดผลดีกับพวกโอลิโกคีต (oligochaetes) มอลลัสก (molluscs) และครัสเตเซียนใน<br />

ชั้นมาลาคอสตรากา (Class Malacostraca)<br />

10. Stovaine’ amyl chlorohydrin โดยปกติใชกับสัตวที่มีขนาดเล็ก ใชในรูปของสารละลายซึ่งมีสูตร<br />

ดังนี้<br />

Stovaine<br />

1 กรัม<br />

90% เอทานอล (Ethanol) 10 มิลลิลิตร<br />

น้ํากลั่น 10 มิลลิลิตร<br />

11. ยูรีเทน (Urethane, Ethyl carbamate) ใชผงของยูรีเทนโรยลงบนผิวน้ํา หรืออาจจะใชเปนแบบ<br />

สารละลายเจือจางที่ความเขมขน 1%, 2% หรือ 3% ในน้ําจืดสามารถทําใหปลาและสัตวน้ําเค็มบาง<br />

จําพวกหมดความรูสึกได<br />

นอกจากสารดังกลาวยังมีสารที่ทําใหสัตวทะเลสลบหรือชาอีกหลายชนิด สารที่หางายและนิยมใช<br />

กันโดยทั่วไป คือ แมกนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมคลอไรดและเมนทอล ขอสําคัญในการทําใหสัตวชา คือ<br />

5


ตองปลอยใหสัตวถูกรบกวนนอยที่สุด การทดสอบวาสัตวหมดความรูสึกหรือผอนคลายรางกายเต็มที่ ทําได<br />

โดยการแหยหรือจิ้มดวยเข็มเขี่ยเบา ๆ แลวสัตวไมมีการตอบสนองหรือไมเคลื่อนไหว ระยะเวลาขึ้นอยูกับ<br />

ชนิดและขนาดของสัตว ถาสัตวยังเคลื่อนไหวและตอบสนองอยูก็ตองปลอยทิ้งไวตอไป บางครั้งอาจใชเวลา<br />

เปนวัน ดังนั้นความอดทนจึงเปนสวนประกอบที่สําคัญมากอยางหนึ่ง ขอควรระวังประการหนึ่ง คือ ควรจะ<br />

คงสภาพสัตวตัวอยางทันทีเมื่อสัตวหมดความรูสึก ไมควรปลอยทิ้งไว เพราะสัตวเหลานี้จะเนาเปอย<br />

การทําใหสัตวผอนคลายที่เหมาะสมและนิยมใชอีกอยางหนึ่งก็คือ ปลอยใหสัตวตายอยางชา ๆ ในน้ํา<br />

ทะเล จนกระทั่งน้ําทะเลนั้นเกือบเนาเสียหรือเปนน้ําที่ขาดออกซิเจน วิธีนี้ตองคอยตรวจสอบอยูเสมอ เพราะ<br />

ถาทิ้งตัวอยางไวนานเกินไปจะทําใหตัวอยางเนาได อีกวิธีหนึ่งคือ การลดอุณหภูมิของน้ําทะเลในภาชนะที่<br />

บรรจุตัวอยาง โดยการเติมน้ําเย็นลงไปเล็กนอยจากนั้นคอยนําเขาตูเย็นหรือตูแช ปลอยทิ้งไวจนสัตว<br />

ออนเพลียหรือตาย บางครั้งอาจใชสารทําใหสลบหรือชาใสลงไปและทําการลดอุณหภูมิโดยแชตูเย็นดวย เมื่อ<br />

ตัวอยางสัตวทะเลถูกทําใหชาตามความตองการแลว ก็นําไปคงสภาพในขั้นตอนที่สองตอไป<br />

การคงสภาพตัวอยาง (Fixation) เปนขบวนการรักษาโครงสรางโดยทําใหโปรตีนหรือเนื้อเยื่อของ<br />

สัตวอยูในสภาพคงที่ (stabilize) ไมเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพที่เคยเปนในขณะที่สัตวยังมีชีวิตอยูหรือให<br />

ใกลเคียงกับธรรมชาติมากที่สุดเทาที่จะเปนได เพื่อประโยชนในการปฏิบัติงานหรือศึกษาเกี่ยวกับตัวอยาง<br />

สัตวนั้น การรักษาตัวอยางที่ดีตองรักษาสภาพตัวอยางที่คงสภาพใหอยูในสภาพนั้นโดยไมมีกําหนดเวลา<br />

เทาที่ศึกษาขณะนี้ยังไมมีสารคงสภาพ (fixative) ใดที่เหมาะกับสัตวทุกชนิดหรือมีคุณสมบัติที่ดีที่สุด แตที่<br />

นิยมใชกันมากที่สุดโดยทั่วไป คือ ฟอรมาลิน (Formalin) การเลือกสารคงสภาพจึงตองขึ้นอยูกับ<br />

วัตถุประสงคที่ตองการใชเกี่ยวกับตัวอยางชนิดนั้น โดยปกติสารที่ใชคงสภาพ คือ ฟอรมาลดีไฮด<br />

(Formaldehyde) เอทิลแอลกอฮอล (Ethyl alcohol) กรดอะซีติก (Acetic acid) กรดพิคริค (Picric<br />

acid) เมอรคิวริคคลอไรด (Mercuric chloride) กรดออสมิก (Osmic acid, Osmium tetrexide)<br />

โพแทสเซียมไดโครเมต (Potassium dichromate) และโครเมียมไตรออกไซดหรือกรดโคโรมิค<br />

(Chromium trioxide, Choromic acid) สารเหลานี้บางครั้งก็ใชเดี่ยว ๆ ได แตโดยมากมักตองนํามาผสม<br />

กันเสียกอน ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะสารที่หางายและใชไดดีกับสัตวทะเล<br />

สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการคงสภาพตัวอยาง (Fixative)<br />

1. ฟอรมาลิน (Formalin) เปนชื่อทางการคา สวนอีกชื่อหนึ่งคือ สารละลาย 40% ฟอรมาลดีไฮด<br />

(Formaldehyde) ซึ่งเปนสารประกอบของกาซฟอรมาลดีไฮด (HCOH) ในน้ํา เมื่อตองการใช<br />

นําไปเจือจางกับน้ําจืดหรือน้ําทะเลเสียกอน แตใชน้ําทะเลจะดีกวาเนื่องจากน้ําทะเลมีคุณสมบัติเปน<br />

ตัวปรับสภาพความเปนกรด-ดาง (buffer) ในการคงสภาพตัวอยางควรใชฟอรมาลินที่มีความเขมขน<br />

10% ขอควรระวังในการเจือจางฟอรมาลินที่ตองคํานึงถึงอยูเสมอ คือ มักมีปญหาสับสนระหวางคํา<br />

6


วาฟอรมาลดีไฮดและฟอรมาลิน ขอที่ควรจดจํางาย ๆ คือ 40% ฟอรมาลดีไฮด เทากับ 100% ฟอรมา-<br />

ลิน<br />

ถาตองการเจือจางฟอรมาลิน ควรคํานึงถึงสัดสวนดังตัวอยางตอไปนี้ คือ<br />

10% ฟอรมาลดีไฮด 10 สวนโดยปริมาตรของฟอรมาลินที่ยังไมไดเจือจางผสมกับน้ํา 30 สวน<br />

โดยปริมาตร (หรือ 1 : 3)<br />

4% ฟอรมาลดีไฮด 4 สวนโดยปริมาตรของฟอรมาลินที่ยังไมไดเจือจางผสมกับน้ํา 36 สวน<br />

โดยปริมาตร (หรือ 1 : 9)<br />

10% ฟอรมาลิน 10 สวนโดยปริมาตรของฟอรมาลินที่ยังไมไดเจือจางผสมกับน้ํา 90 สวน<br />

โดยปริมาตร (หรือ 1 : 9)<br />

5% ฟอรมาลิน 5 สวนโดยปริมาตรของฟอรมาลินที่ยังไมไดเจือจางผสมกับน้ํา 95 สวน<br />

โดยปริมาตร (หรือ 1 : 19)<br />

ดังนั้นอาจกลาวไดวา 10% ฟอรมาลินหรือ 4% ฟอรมาลดีไฮดเปนสารละลายที่มีความเขมขน<br />

เดียวกัน<br />

สําหรับฟอรมาลินที่ใชสวนมากจะมีปฏิกิริยาสลายตัวทําใหเกิดกรดขึ้น กรดนี้ คือ กรดฟอรมิก<br />

(Formic acid) ดังสมการ<br />

2CH 2 O (aq) + H 2 O —–————> CH 3 OH + CHOOH<br />

(Formaldehyde)<br />

(Methanol) (Formic acid)<br />

ซึ่งสภาวะที่เปนกรดนี้จะทําลายตัวอยางที่มีสวนประกอบโครงสรางเปนพวกหินปูน (calcareous<br />

structure) เชน แคลเซียมคารบอเนต (Calcium carbonate) สัตวทะเลที่มีโครงสรางเปนพวกหินปูน ไดแก<br />

ปลิงทะเล ปะการังออน และฟองน้ําบางชนิด การคงสภาพหรือการเก็บรักษาตัวอยางสัตวทะเลเหลานี้จะใช<br />

ฟอรมาลินไมได หากจําเปนตองใชก็ควรทําใหเปนกลาง (neutralize) เสียกอน การทําใหฟอรมาลินเปน<br />

กลางมีหลายวิธีดวยกัน คือ<br />

ก. ใสผงชอลก (Powder chalk) ใช 5 กรัม ตอฟอรมาลินที่ยังไมไดเจือจาง 1 ลิตร เขยาใหเขากัน<br />

แลวนําไปกรอง<br />

ข. ใสบอแรกซ (Borax, Sodium tetraborate) Na 2 B 4 O 7 7H 2 O ลงในฟอรมาลินเขมขน (ยังไมเจือ<br />

จาง) 20 กรัม/ลิตร<br />

สําหรับทั้งสองวิธีนี้เมื่อทําเสร็จ จะตองมีการทดสอบความเปนกรด-ดาง โดยใช indicator เชน<br />

กระดาษลิตมัสหรือฟนอฟทาลีน (Phenolphthalein) เพราะวาสารละลายที่ไดจะเปนกลางเพียงชั่วคราว<br />

เทานั้น เมื่อเก็บไวเปนระยะเวลานานจึงตองมีการทดสอบอยูเสมอ<br />

ค. ใสเฮกซามีน (Hexamine, Hexamethylene tetramine) C 6 H 12 N 4 ลงในฟอรมาลินเขมขนใน<br />

สัดสวน 200 กรัม/ลิตร วิธีการนี้จะให pH ที่คงที่โดยถาวร ซึ่ง pH จะมีคาประมาณ 7.8<br />

7


ง. หยด 4% NaOH (โซเดียมไฮดรอกไซด/Sodium hydroxide) ลงไปทีละหยดจนฟอรมาลินเปน<br />

กลางโดยทดสอบกับฟนอลเรด (phenol red)<br />

จ. ใสแมกนีเซียมคารบาเมต (Magnesium carbamate) 3Mg Co 3 Mg (OH) 2 3H 2 O ในปริมาณที่<br />

มากเพียงพอ<br />

ฉ. ใสเปลือกหอยที่ทุบใหแตกละเอียดลงไปในขวดฟอรมาลิน<br />

การทําใหฟอรมาลินมีคาเปนกลาง (Neutral buffered formaldehyde solution pH 7.0) อยาง<br />

แทจริงนั้นในการคงสภาพตัวอยางสัตวทะเลยังไมมีความจําเปนมากนัก แตก็สามารถทําไดดวยสวนผสมดังนี้<br />

37–40% สารละลายฟอรมาลดีไฮด 100 มิลลิลิตร<br />

น้ํา 900 มิลลิลิตร<br />

Acid sodium phosphate, monohydrate<br />

4 กรัม<br />

Anhydrous disodium phosphate<br />

6.5 กรัม<br />

การคงสภาพตัวอยางโดยใชฟอรมาลินที่เปนกลาง สีของตัวอยางจะดีกวาการคงสภาพดวยฟอรมาลิน<br />

ที่ไมเปนกลาง สัตวที่มีโครงสรางเปนหินปูนอาจจะคงสภาพดวยฟอรมาลินที่เปนกลางได แตถามีสารชนิด<br />

อื่น เชน แอลกอฮอล ก็ควรทําการคงสภาพดวยแอลกอฮอลที่มีความเขมขนสูง เชน 95% เปนตน จะชวยลด<br />

ความเสี่ยงจากการสูญเสียตัวอยางไดมากกวา<br />

ถึงแมวาฟอรมาลินจะเปนประโยชนในการคงสภาพและเก็บรักษาตัวอยางอยางมากก็ตาม แตก็มี<br />

ขอเสียเชนกัน ไดแก<br />

ก. หากทิ้งฟอรมาลินไวนานหรือทิ้งไวในที่เย็นเกินไป อาจเกิดตะกอนสีขาวซึ่งเกิดจากการจับตัวของ<br />

พาราฟอรมาลดีไฮด (Paraformaldehyde) ทําใหคุณสมบัติในการเก็บรักษาตัวอยางหมดไป จึงตองมีการ<br />

ตรวจสอบและเปลี่ยนสารละลายฟอรมาลินอยูเสมอ การตกตะกอนของพาราฟอรมาลดีไฮดอาจแกไขไดโดย<br />

การนําฟอรมาลินที่ตกตะกอนนั้นมาทําใหอุนขึ้น โดยการเพิ่มอุณหภูมิแลวเติมโซเดียมไฮดรอกไซด<br />

(NaOH) ลงไป ฟอรมาลินนั้นก็จะกลับมาใสตามเดิม<br />

ข. ฟอรมาลินมีสภาวะเปนกรด ตองทําใหเปนกลางเสียกอนจึงนํามาใช<br />

ค. ฟอรมาลินมีกลิ่นเหม็นขณะทํางานและเปนอันตรายตอสุขภาพโดยเฉพาะผิวหนัง ระบบหายใจ<br />

และทําใหระคายเคืองตา การกําจัดกลิ่นฟอรมาลินอาจทําไดโดยการแชตัวอยางในน้ําจืด หรืออาจใชสูตร<br />

น้ํายากําจัดกลิ่นดังตอไปนี้<br />

โซเดียมไบซัลเฟต (Sodium bisulphate, NaH SO 3 ) 300 กรัม<br />

โซเดียมซัลไฟต (Sodium sulphite, Na 2 SO 3 )<br />

200 กรัม<br />

น้ํา 5 ลิตร<br />

แชตัวอยางไวประมาณ 2 นาที แลวจึงนําตัวอยางมาทําการศึกษา<br />

ง. ฟอรมาลินทําใหเหล็กเปนสนิม เมื่อเก็บรักษาตัวอยางดวยฟอรมาลินในถังเหล็กบางครั้ง เหล็กจะ<br />

สลายออกมาเปนตะกอนสีน้ําตาล ดังนั้นเมื่อใชฟอรมาลินควรใชภาชนะบรรจุและฝาปดที่เปนแกวหรือพลา-<br />

8


สติก ถามีความจําเปนตองใชภาชนะที่เปนเหล็ก ตองทําฟอรมาลินใหเปนกลางกอน แลวจึงเติม Rochelle<br />

salt (Sodium potassium tratrate) KNaC 4 H 4 O 6 4H 2 O ประมาณ 40 กรัม ลงไปในสารละลายฟอรมาลิน<br />

เขมขน 1 แกลลอน (ประมาณ 4 ลิตร) เพื่อปองกันการสลายตัวตกตะกอนของสนิมเหล็ก<br />

2. Bouin’s fluid ใชเปนสารคงสภาพตัวอยางสัตวทะเลไดดี มีสวนผสมดังนี้<br />

กรดพิคริค Picric acid (เปนสารละลายอิ่มตัวทําไดโดย<br />

การเติมผลึกหนัก 1 กรัม ลงในน้ํา 75 มิลลิลิตร) 75 มิลลิลิตร<br />

ฟอรมาลิน (Formalin)<br />

25 มิลลิลิตร<br />

กรดอะซีติก (Acetic acid, Glacial)<br />

5 มิลลิลิตร<br />

การคงสภาพใชเวลาอยางนอย 12 ชม. จากนั้นลางตัวอยางดวยแอลกอฮอล 50% กอนการเก็บรักษา<br />

3. สารผสมของกรดโครมิกและกรดออสมิก (Chromic/Osmic acid mixture) มีสวนผสมดังนี้<br />

กรดโครมิก (Chromic acid) 1%<br />

100 มิลลิลิตร<br />

กรดออสมิก (Osmic acid) 1%<br />

2 มิลลิลิตร<br />

ในการใชกรดออสมิกตองระมัดระวังในการปฏิบัติงานเพราะไอระเหยเปนพิษ<br />

4. Flemming’s solution เปนสารคงสภาพที่ใชไดดีกับสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เตรียมได<br />

ดังนี้<br />

กรดโครมิก (Chromic acid) 1%<br />

150 มิลลิลิตร<br />

กรดออสมิก (Osmic acid) 2%<br />

40 มิลลิลิตร<br />

กรดอะซีติก (Acetic acid, Glacial)<br />

10 มิลลิลิตร<br />

หลังจากทําการคงสภาพตัวอยางแลวควรนํามาลางใตน้ําไหลหลาย ๆ ครั้ง เพื่อขจัดคราบกรดออสมิก<br />

ออก<br />

ขอสําคัญในการคงสภาพอีกอยางหนึ่ง คือ ถาตัวอยางสัตวมีขนาดใหญน้ํายาคงสภาพอาจซึมเขาไม<br />

ถึงเนื้อเยื่อหรืออวัยวะภายใน ควรใชเข็มฉีดน้ํายาเขาไปในลําตัวหรืออาจใชเข็มแทงตามบริเวณออนนุมให<br />

น้ํายาผานเขาไปมิฉะนั้นเนื้อภายในจะเนาเสียได ตัวอยางทั้งหมดเมื่อทําการคงสภาพแลวจึงนําไปทําการเก็บ<br />

รักษาในขั้นตอนตอไป<br />

การเก็บรักษาถาวร (Preservation) เปนการเก็บรักษาขั้นสุดทายหลังจากไดคงสภาพ โดยใชสาร<br />

เก็บรักษาหรือที่เรียกวา preservatives ที่มีคุณสมบัติในการปองกันและทําลายเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา สาร<br />

เก็บรักษานี้จึงไมจําเปนตองเปนสารที่ปองกันการเนาสลายของเนื้อเยื่อ แตโดยปกติสารเก็บรักษาสวนมากมี<br />

คุณสมบัติทางดานคงสภาพดวยเชนเดียวกัน<br />

9


การเก็บรักษาตัวอยางถาวรนั้นทําได 2 วิธี คือ เก็บรักษาในน้ํายาเก็บรักษาถาวร (wet preservation)<br />

หรือเก็บรักษาแบบแหง (dry preservation) การรักษาในสภาพแหงโดยมากใชกับสัตวที่มีโครงสราง<br />

แข็งแรง เชน ปะการัง กัลปงหา แมงดาทะเล ปูบางชนิดและพวกเอคไคโนเดิม (echinoderms) (ยกเวน<br />

ปลิงทะเล) เปนตน และควรจะคงสภาพในฟอรมาลินเสียกอน จากนั้นนํามาผึ่งใหแหงในที่รม ถาใหดีควร<br />

เก็บไวในที่มืดเพราะแสงแดดจะทําใหสีซีดโดยเฉพาะปูและดาวทะเล เมื่อแหงสนิทจึงนํามาเก็บไวในภาชนะ<br />

หรือพวกกลองพลาสติกที่ปองกันการกระทบกระแทกเนื่องจากตัวอยางสัตวแหงจะแตกเปราะไดงาย สําหรับ<br />

พวกปะการัง (stony corals) นํามาแชน้ําทะเลใหเนาหรืออาจใชน้ํายาทําความสะอาด เชน Chlorox หรือ<br />

Chlorine ใสลงไปดวย จากนั้นจึงนํามาฉีดลางดวยน้ําจากทอแรง ๆ ใหเนื้อเยื่อหลุดจนเหลือโครงสรางเปน<br />

หินปูนสีขาว สวนพวกหอยที่ตองการเฉพาะเปลือก ทําไดโดยนําหอยนั้นมาตมน้ําเดือดประมาณ 5 นาที<br />

จากนั้นดึงเอาเนื้อขางในออก แตวิธีนี้ไมเหมาะกับหอยชนิดที่มีเปลือกมันและแวว เชน หอยเบี้ย หอยรังดุม<br />

เพราะทําใหผิวเปลือกแตกและความแวววาวจะหายไป หรืออาจนําหอยมาแชน้ําหรือฝงทราย ใหเนื้อภายใน<br />

เนา จากนั้นคอยดึงเอาเนื้อภายในออกโดยใชเข็มเขี่ย จากนั้นก็ลางน้ําใหสะอาด นอกจากนี้พวกหอยที่มีขนาด<br />

ใหญ เชน หอยจุกพราหมณอาจใชวิธีการแชแข็ง โดยนําหอยแชไวในน้ําแข็งหรือตูแชจนเนื้อภายในหดตัวลง<br />

แลวใชตะขอดึงเอาเนื้อออก<br />

การเก็บรักษาแบบแหงไมเหมาะสําหรับการศึกษาพวกเนื้อเยื่อหรืออวัยวะภายในตาง ๆ ดังนั้นถา<br />

ตองการศึกษาสิ่งเหลานี้ควรเก็บรักษาไวในน้ํายา<br />

สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการเก็บรักษาตัวอยางถาวร (Preservative)<br />

สารเก็บรักษาที่ใชมีหลายชนิด แตที่นิยมใชกันโดยทั่วไปมีดังนี้ คือ<br />

1. ฟอรมาลิน (Formalin) ฟอรมาลินนอกจากจะใชเปนสารคงสภาพ ยังใชเปนสารเก็บรักษาตัวอยาง<br />

ถาวรไดอีก เนื่องจากเปนสารที่มีราคาถูกและไมไวไฟ แตมีปญหาหลายประการดังไดกลาวแลว<br />

ดังนั้นในพิพิธภัณฑหลายแหงจึงมักใชสารเก็บรักษาอื่นแทน การเก็บรักษาตัวอยางโดยใชฟอรมาลิน<br />

นั้นโดยปกติมักลดความเขมขนจากที่ใชเปนสารคงสภาพลงเสียครึ่งหนึ่งหรือสองในสาม ฟอรมาลิน<br />

ที่ใชคงสภาพมีความเขมขนอยูประมาณ 10% ฟอรมาลินที่ใชเก็บรักษาตัวอยางมีความเขมขนอยู<br />

ระหวาง 5–10%<br />

2. เอทิลแอลกอฮอลหรือเอทานอล (Ethyl alcohol, Ethanol) มีการยอมรับโดยทั่วไปวาดีที่สุด<br />

สําหรับรักษาตัวอยางสัตวไมมีกระดูกสันหลัง และใชกันอยางกวางขวางในพิพิธภัณฑหลายแหงทั่ว<br />

โลก การเก็บรักษาตัวอยางดวยแอลกอฮอลนั้นตองระมัดระวัง เพราะแอลกอฮอลมีคุณสมบัติในการ<br />

ดูดน้ําออกมาจากตัวอยางได และเนื้อเยื่อของตัวอยางสวนมากมักประกอบไปดวยน้ํา ถาใส<br />

แอลกอฮอลลงไปในตัวอยางนอยเกินไป ความเขมขนของแอลกอฮอลจะลดลงอยางนอยครึ่งหนึ่ง<br />

ดังนั้นในการเก็บรักษาสัตวดวยแอลกอฮอลควรใชความเขมขนของแอลกอฮอลไมนอยกวา 50%<br />

โดยปกติที่ใชสัตวที่มีขนาดเล็กและที่มีโครงสรางแข็งใชประมาณ 70% สัตวที่มีลําตัวออนนุมถา<br />

10


นํามาเก็บรักษาในแอลกอฮอลที่มีความเขมขนสูง มักจะเหี่ยวยนเนื่องจากการสูญเสียน้ําภายในตัว<br />

ดังนั้นอาจจะหลีกเลี่ยงไดโดยครั้งแรกแชตัวอยางสัตวไวในแอลกอฮอลที่มีความเขมขน 30% ประ-<br />

มาณ 2–3 ชม. จากนั้นเปลี่ยนเปนแอลกอฮอล 50% ประมาณ 2–3 ชม. เชนเดียวกัน จากนั้นจึงนําไป<br />

เก็บรักษาไวในแอลกอฮอล 70%<br />

สําหรับตัวอยางที่คงสภาพดวยฟอรมาลิน เมื่อนํามาเก็บรักษาดวยแอลกอฮอลควรลางตัวอยางดวยน้ํา<br />

หลาย ๆ ครั้ง เพื่อมิใหเกิดตะกอนขาวของน้ําทะเลที่ใชเจือจางฟอรมาลิน ในประเทศไทยแอลกอฮอลสามารถ<br />

จัดซื้อไดจากโรงงานสุรากรมสรรพสามิต เปนแอลกอฮอลที่มีความเขมขน 95% ดังนั้นเวลาใชควรผสมความ<br />

เขมขนใหถูกตอง การเจือจางแอลกอฮอลมีสัดสวนผสมดังนี้<br />

%ความเขมขนที่ตองการ % ปริมาตรของ Ethyl alcohol ที่ใช %ปริมาตรของน้ํา<br />

70 76.9 23.1<br />

75 81.2 18.8<br />

80 85.4 14.6<br />

85 89.5 10.5<br />

90 93.2 6.8<br />

สัตวตัวอยางที่เก็บรักษาในแอลกอฮอลนั้นมักมีการเติมกลีเซอรีน (Glycerine) ลงไปสักเล็กนอย<br />

เพื่อชวยปองกันการสูญเสียน้ําในตัวสัตวเมื่อแอลกอฮอลระเหยไปและชวยใหแอลกอฮอลระเหยนอยลง ชวย<br />

ปองกันมิใหสัตวที่มีลําตัวออนนุมเกิดแข็งตัวขึ้นเชนที่เกิดในการเก็บรักษาดวยฟอรมาลิน และนอกจากนี้กลี-<br />

เซอรีนยังเปน clearing agent ทําใหตัวอยางสัตวใสขึ้น กลีเซอรีนไมควรใชกับภาชนะจุกคอรค (cork)<br />

เพราะจะนําเอา Tonnic acid และรงควัตถุ (pigment) ออกมา สวนขอเสียของแอลกอฮอล คือจะละลายสี<br />

จากตัวสัตว ดังนั้นกอนการเก็บรักษาตัวอยางในแอลกอฮอลควรจะมีการถายรูปสัตวตัวอยางเอาไว หรือ<br />

บันทึกลักษณะสีสรรไวใหครบถวน สารเก็บรักษาตัวอยางที่ดีอีกอยางหนึ่งคือ Tempere’s solution ซึ่งใช<br />

ในการเก็บรักษาสัตวทะเลไดแทบทุกชนิด มีสูตรดังนี้<br />

น้ํา 46 มิลลิลิตร<br />

95% เอทานอล (Ethanol) 38 มิลลิลิตร<br />

กลีเซอรีน (Glycerine)<br />

6 มิลลิลิตร<br />

ฟอรมาลิน (Formalin)<br />

10 มิลลิลิตร<br />

3. Steedman’s Solution ใชกับตัวอยางพวกแพลงกตอน ตัวอยางแพลงกตอนที่รวบรวมไดจาก<br />

ภาคสนามแลวผานการคงสภาพดวยฟอรมาลินประมาณ 7–8 วัน ควรเปลี่ยนน้ํายาเปน Steedman’s<br />

Solution ซึ่งมีสวนผสมดังนี้<br />

11


โพรพีลีนฟนอกซีทอล (Propylene phenoxetol)<br />

0.5 มิลลิลิตร<br />

โพรพีลีน ไกลคอล (Propylene glycol)<br />

4.5 มิลลิลิตร<br />

40% ฟอรมาลินมีคา pH เปนกลาง (Buffered formaldehyde) 2.5 มิลลิลิตร<br />

น้ําทะเล 92.5 มิลลิลิตร<br />

โดยทั่วไปการเก็บรักษาตัวอยางนั้นตองผานขั้นตอนทั้งสามนี้ นักวิทยาศาสตรหลายทานไดมีการ<br />

ทดลองและคนควาไดใหความคิดเห็นแตกตางกันออกไป สวนมากเกี่ยวกับชนิดของสารหรือน้ํายาเคมีที่ใช<br />

ชนิดของสัตวทะเล และระยะเวลา บางคนใชสารหรือน้ํายาเคมีราคาแพงและวิธีการที่ยุงยาก บางคนก็ใชสาร<br />

หรือน้ํายาเคมีที่หาไดงายและวีธีการงาย ๆ แตปจจุบันก็ยังสรุปไมไดแนชัดวาสารใดดีที่สุดและใหประโยชน<br />

ไดคุมคามากที่สุด สารที่นิยมใชทําใหสัตวสลบหรือชา ไดแก MgSO 4 หรือ MgCl 2 ฯลฯ สวนน้ํายาคงสภาพ<br />

และเก็บรักษาที่นิยมใช คือ แอลกอฮอลกับฟอรมาลิน ตารางที่ 1 เปนการสรุปถึงสัตวในแตละกลุมวาควรใช<br />

น้ํายาหรือวิธีการใดจึงเหมาะสมโดยคํานึงถึงชนิดของสารที่หาไดงายและมีราคาถูก<br />

สารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการคืนสภาพตัวอยางแหง<br />

ปญหาใหญประการหนึ่งของพิพิธภัณฑฯ คือ ตัวอยางที่เก็บรักษาแหงซึ่งอาจเกิดขึ้นไดจากสาเหตุ<br />

หลายประการ เชน การปดฝาขวดไมสนิท หรือฝาปดขวดแตก<br />

ในกรณีที่ตัวอยางที่เก็บรักษาแหง อาจคืนสภาพตัวอยางไดโดยใชสารทําความสะอาดเขมขน (detergent)<br />

ที่มีชื่อการคาวา Decon 90 หรือ Teepol (เปนน้ํายาชนิดเดียวกับที่ใชทําความสะอาดและปองกันการ<br />

ติดเชื้อในโรงพยาบาล) ใชโดยผสมน้ํายากับน้ํากลั่นหรือน้ําทะเล (ขึ้นอยูกับตัวอยางสัตว) จนไดสารละลาย<br />

5% จากนั้นปลอยตัวอยางไวใหจมในสารละลายดังกลาวประมาณ 2–3 ชม. ถึงขามคืนขึ้นอยูกับประสิทธิ-<br />

ภาพของสารละลาย จะสังเกตเห็นวาตัวอยางจะคอย ๆ กลับคืนสูสภาพเดิมชา ๆ จนเมื่อเห็นวาตัวอยางกลับ-<br />

คืนสูสภาพเดิมเต็มที่แลว นําตัวอยางไปลางในน้ําหลาย ๆ ครั้งจนรูสึกไดวาสารละลายถูกลางออกหมด (ไมมี<br />

ฟอง) ก็สามารถนํากลับไปเก็บรักษาในแอลกอฮอลไดตามปกติ ถาเปนตัวอยางที่สําคัญมาก อาจจะคอย ๆ<br />

เปลี่ยนถายตัวอยางลงในแอลกอฮอลความเขมขนตาง ๆ จากนอยไปมาก (10%, 20%, 30%, 40%, 50%,<br />

60%, 70% เปนตน) จนไดความเขมขนของแอลกอฮอลที่ตองการ<br />

อีกวิธีการหนึ่งคือ การคอย ๆ หยด โซเดียมไตรฟอสเฟต (Sodium triphosphate) ลงในน้ําเพื่อให<br />

ไดสารละลายเขมขน 5% จากนั้นก็ปฏิบัติตามขั้นตอนเดิม<br />

การเก็บรักษาสัตวทะเลในแตละกลุม<br />

ในวิชาสัตววิทยาโดยทั่วไปแบงอาณาจักรสัตวออกเปนสองกลุม คือ สัตวมีกระดูกสันหลัง<br />

(Vertebrates) และสัตวไมมีกระดูกสันหลัง (Invertebrates) การเก็บรักษาตัวอยางสัตวทะเลที่จะกลาว<br />

ตอไปนี้จะเริ่มตั้งแตสัตวชั้นต่ําไปจนถึงสัตวมีกระดูกสันหลังบางกลุม เชน ปลาทะเลเทานั้น<br />

12


Protozoa (โปรโตซัว)<br />

สัตวในกลุมนี้แบงคราว ๆ ออกเปน 3 กลุมดวยกัน คือ Flagellated protazoa, Ameboid<br />

protozoa และ Spore-Forming protozoa (Ruppert & Barnes, 1994) พวก Flagellated protazoa<br />

แบงเปน phytoflagellates และ zooflagellates พวก Ameboid protozoa แบงเปน amebas,<br />

foraminiferans, heliozoans และ radiolarians พวก Spore-forming protozoa สวนใหญจัดอยูใน<br />

ไฟลัม Sporozoa หรือ Apicomplexa<br />

โปรโตซัวที่พบเปนแพลงกตอนในทะเลและมหาสมุทร ไดแก tintinnids, foraminiferans และ<br />

radiolarians (สุนันทและคณะ, 2548) การเก็บรักษาสัตวในกลุมนี้ครั้งแรกควรใสตัวอยางสัตวลงใน 50%<br />

แอลกอฮอลจากนั้นจึงเปลี่ยนเปน 70–90% แอลกอฮอลหรืออาจจะใสตัวอยางลงใน 3–5% ฟอรมาลินที่ปรับ<br />

pH เปนกลาง (neutral formalin) ไดโดยตรง หรืออาจเก็บรักษาสภาพตัวอยางในสไลด หากตองการศึกษา<br />

ตัวอยางสัตวในกลุมนี้เพื่อการตรวจสอบวิทยาเซลล (Cytology) ในภายหลังควรศึกษาวิธีการเก็บรักษา<br />

ตัวอยางเปนพิเศษจากเอกสารเพื่อการนี้โดยเฉพาะ<br />

รูปที่ 1 ตัวอยาง Tintinnids ที่พบในทะเล (สุนันทและคณะ, 2548)<br />

13


รูปที่ 2 Foraminiferans: Nonion germanicum (PMBC 4674)<br />

และ Ammonia beccarii (Linne, 1758) (PMBC 4680)<br />

รูปที่ 3 Foraminiferans รูปรางตาง ๆ (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

14


รูปที่ 4 ตัวอยาง Foraminiferans ที่พบในทะเล (สุนันทและคณะ, 2548)<br />

รูปที่ 5 ตัวอยาง Radiolarians ที่พบในทะเล (สุนันทและคณะ, 2548)<br />

15


Porifera (ฟองน้ํา)<br />

สัตวในไฟลัมนี้แบงออกเปน 3 ชั้น คือ Calcarea (or Calcispongiae), Hexactinellida (or<br />

Hyalospongiae), Demospongiae และ Sclerospongiae (Ruppert & Barnes, 1994) ฟองน้ําควรจะทํา<br />

การคงสภาพในทันทีที่เก็บขึ้นมาจากทะเลเนื่องจากเนาสลายไดรวดเร็ว แอลกอฮอลเปนสารที่ใชคงสภาพได<br />

ดีที่สุด ตัวอยางฟองน้ําควรจะแชใน 50% แอลกอฮอลกอน หลังจากนั้นประมาณ 12 ชม. จึงเปลี่ยนไปใสใน<br />

50% แอลกอฮอลที่ใสสะอาดอีกประมาณ 12 ชม. จากนั้นจึงนําไปเก็บรักษาใน 70% แอลกอฮอล ถาตองการ<br />

ศึกษาดานวิทยาเนื้อเยื่อ (Histology) ควรจะทําการคงสภาพตัวอยางใน Bouin's fluid เสียกอน ไมควรใช<br />

ฟอรมาลินในการคงสภาพฟองน้ํา<br />

ฟองน้ําในทะเลสามารถเก็บรักษาในสภาพแหงไดโดยเมื่อเก็บฟองน้ําจากทะเล นําฟองน้ํามาแชใน<br />

น้ําจืดประมาณ 2 ชม. เสียกอนเพื่อกําจัดเกลือออก จากนั้นจึงนํามาทิ้งไวใหแหงในที่เย็นและระบายอากาศได<br />

ดี<br />

รูปที่ 6 ฟองน้ํา: Raspallia sp. (PMBC 7981) และ Acanthella sp. (PMBC 7977)<br />

รูปที่ 7 ฟองน้ํา (รอการจําแนกชนิด)<br />

Coelenterata หรือ Cnidaria<br />

สัตวในไฟลัมนี้ ไดแก ไฮดรอย (hydroids) แมงกะพรุน (jelly fish) ดอกไมทะเล (sea anemone)<br />

และปะการัง (coral) เปนตน โดยปกติไฟลัมนี้แบงออกเปน 3 ชั้น คือ ชั้น Hydrozoa ชั้น Scyphozoa และ<br />

Cubozoa และชั้น Anthozoa (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

Hydrozoa สัตวในชั้นนี้สวนใหญเปนสัตวทะเล เปนแมงกะพรุนขนาดเล็กอยูเดี่ยว ๆ หรือ<br />

เปนกลุม มี velum ผนังลําตัวบาง หนวดบาง มีบางชนิดที่พบในน้ําจืด เชน ไฮดรา เปนตน กลุมสําคัญที่พบ<br />

ในทะเลจัดอยูใน 7 อันดับ (Order) คือ Anthomedusae, Leptomedusae, Limnomedusae, Trachymedusae,<br />

Narcomedusae, Siphonophora และ Chondophora (สุนันทและคณะ, 2548) แมงกะพรุน<br />

16


ชนิด Physalia physalio หรือที่รูจักกันในชื่อของ Portuguese man-of-war อยูในอันดับ Siphonophora<br />

สัตวในกลุม Hydrozoa ควรทําใหชากอนที่จะทําการคงสภาพ โดยปกติสารที่ใชทําใหสลบหรือชา คือ<br />

เมนทอล ทําไดโดยนําตัวอยางสัตวใสลงในภาชนะที่มีขนาดใหญพอที่จะทําใหสัตวขยายตัวออกไดเต็มที่ ใน<br />

ภาชนะอาจจะใสไดทั้งน้ําทะเล น้ําจืดและน้ํากรอย จากนั้นจึงโรยเกล็ดเมนทอล ประมาณ 2–3 เกล็ดลงบนผิว<br />

น้ํา ระยะเวลาที่ทําใหสัตวชาจะแตกตางกันออกไป สารอื่น ๆ ที่ใชทําใหสลบและไดผลดีเชนเดียวกัน เชน<br />

แมกนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมคลอไรด โพรพีลีนฟนอกซีทอลและ Stovaine สารที่ใชไดดีมากสําหรับ<br />

พวกไฮดรอยและพวกแมงกะพรุนขนาดเล็ก คือ โพรพีลีนฟนอกซีทอล เพราะใหผลเร็ว ดังนั้นจึงควรใส<br />

สารละลายนี้ลงไปตองใสชา ๆ ทีละนอย ถาใสครั้งละมาก ๆ หนวด (tentacles) จะหดตัว นอกจากสาร<br />

เหลานี้ยังสามารถใชฟอรมาลินที่เจือจางใสลงไปเพื่อทําใหสัตวชาได เมื่อทําใหสัตวชาแลว จึงทําการคง<br />

สภาพโดยใชสารละลาย 20% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง และทําการเก็บรักษาไวในสารละลาย 10%<br />

ฟอรมาลิน หรือ 70% แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 8 แมงกะพรุน: Physalia sp. (PMBC 3768)<br />

Scyphozoa และ Cubozoa สัตวในชั้นนี้เปนพวกแมงกะพรุนและเปนสัตวทะเลทั้งหมด<br />

พบไดโดยทั่วไปทั้งในน้ําลึกและน้ําตื้น Scyphozoa แบงเปน 4 อันดับ คือ Coronatae, Semaeostomae,<br />

Stauromedusae และ Rhizostomae สวน Cubozoa มีเพียงอันดับเดียว คือ Cubomedusae (Barnes,<br />

Calow & Olive, 1994) สัตวในชั้นนี้สวนใหญเปนพวกที่เคลื่อนไหวไปมาโดยอิสระหรือลองลอยไปกับน้ํา<br />

ทะเล ยกเวนอันดับ Stauromedusae เทานั้นที่เปนพวกเกาะติดอยูกับที่ (sessile) การเก็บรักษาแมงกะพรุน<br />

ที่อาศัยลองลอยอยูในน้ําทะเลใช 20% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง และในการคงสภาพไมตองทําให<br />

ตัวอยางสลบ สําหรับแมงกะพรุนในอันดับ Stauromedusae ตองทําใหสลบโดยใชเมนทอล การคงสภาพใช<br />

10% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง หรืออาจจะใช 70% แอลกอฮอล<br />

Anthozoa สัตวในชั้นนี้แบงออกเปน 2 subclasses คือ Zoantharia และ Octocorallia<br />

กลุม Zoantharia สําคัญที่พบในทะเลประกอบดวยพวกดอกไมทะเลอันดับ Actiniari) และปะการังแข็ง<br />

17


อันดับ Scleractinia กลุม Octocorallia สําคัญที่พบในทะเลประกอบดวยพวกปากกาทะเลอันดับ<br />

Pennatulacea กัลปงหาอันดับ Gorgonacea และปะการังออนอันดับ Alcyonacea<br />

สัตวในกลุมนี้ที่มีโครงสรางเปนหินปูน (calcareous skeleton) ควรจะเก็บรักษาไวใน<br />

70% แอลกอฮอล ไมควรใชฟอรมาลิน เนื่องจากหินปูนจะถูกฟอรมาลินละลายออก ถึงแมวาจะทําให<br />

ฟอรมาลินเปนกลางแลวก็ตาม แตฟอรมาลินอาจจะทําอันตรายตอโครงสรางสวนละเอียดอื่น ๆ ของปะการัง<br />

ได ถาตองการแตโครงสรางแข็งของปะการังเพียงอยางเดียวมีวิธีการทําไดสองวิธี ซึ่งขึ้นอยูกับวัตถุประสงค<br />

ที่จะนําปะการังไปใช ถาตองการโครงสรางของปะการังเพื่อนําไปศึกษาทางดานวิธีการหรือการศึกษา ก็นํา<br />

ปะการังจากทะเลมาแชไวในน้ําจืด จากนั้นใสผงซักฟอกที่ทําใหขาว (bleach powder) เชน ผงคลอรอกซ<br />

(chlorox) หรือใสคลอรีน (chlorine) ที่ใชกับน้ําประปา แชทิ้งไวหลาย ๆ วัน จากนั้นจึงนํามาลางน้ําสะอาด<br />

อีกครั้งหนึ่ง ปะการังก็จะขาวสะอาด ถาตองการนําปะการังมาจัดตบแตงตูปลาในอควาเรี่ยม (aquarium) ให<br />

นําปะการังจากทะเลมาแชในน้ําจืดทิ้งไวหลาย ๆ วัน เพื่อใหปะการังสวนที่เปนเนื้อเยื่อนั้นเนาสลายไปเอง<br />

จากนั้นจึงนํามาลางทําความสะอาดอีกครั้งหนึ่ง สําหรับพวกกัลปงหานั้นอาจจะนํามาตากแดด สวน<br />

ดอกไมทะเลควรจะทําใหสลบหรือชาเสียกอน โดยใชเมนทอล แมกนีเซียมคลอไรดหรือแมกนีเซียมซัลเฟต<br />

จากนั้นจึงนํามาคงสภาพใน 20% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง และเก็บรักษาไวใน 10% ฟอรมาลินที่ปรับ<br />

pH เปนกลาง หรือ 70% แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 9 ดอกไมทะเล (อางจาก Ruppert & Barnes, 1994)<br />

รูปที่ 10 ปะการังแข็ง Acropora humilis (Dana, 1846) (PMBC 14646)<br />

18


รูปที่ 11 ปากกาทะเล (Sea pen) (รอการจําแนกชนิด)<br />

รูปที่ 12 กัลปงหา Acabaria sp. (PMBC 13138) และ Mopsella sp. (PMBC 13133)<br />

รูปที่ 13 ปะการังออน Dendronephthya sp. (PMBC 13291)<br />

Ctenophora (หวีวุน, comb jelly, sea gooseberries)<br />

สัตวในไฟลัมนี้เปนสัตวทะเลทั้งหมด หวีวุนที่รูจักชนิด (species) มีประมาณ 50 ชนิด (Ruppert &<br />

Barnes, 1994) สวนใหญใชชีวิตเปนแพลงกตอนถาวร มีเพียง 1 อันดับที่อาศัยอยูตามพื้นทะเล (สุนันทและ<br />

คณะ, 2548) หวีวุนแบงออกเปน 2 ชั้น คือ Nuda และ Tentaculata (Ruppert & Barnes, 1994) การเก็บ<br />

รักษาสัตวกลุมนี้ตองทําใหสลบหรือชาเสียกอน โดยใชเกล็ดคลอรัลไฮเดรตใสลงในภาชนะบรรจุน้ําทะเล<br />

จากนั้นจึงนํามาคงสภาพดวยสารผสมของกรดโครมิกและกรดออสมิก โดยแชทิ้งไวประมาณ 15 นาที ถึง 1<br />

ชม. ซึ่งขึ้นอยูกับขนาดของตัวอยางหรืออาจจะใชสารคงสภาพ Flemming's solution ก็ไดผลเชนเดียวกัน<br />

19


หลังจากคงสภาพสามารถนําตัวอยางไปเก็บรักษาถาวรในแอลกอฮอล โดยคอย ๆ เปลี่ยนจากความเขมขนต่ํา<br />

ไปหาสูงคือจาก 30, 40, 50, 60 และเก็บรักษาไวในน้ํายา 70% แอลกอฮอล ไมควรเก็บรักษาไวในฟอรมาลิน<br />

รูปที่ 14 Ctenophore<br />

(www.nhc.ed.ac.uk/index. php?page=24.25.312.319)<br />

Platyhelminthes (หนอนตัวแบน)<br />

สัตวในกลุมนี้แบงออกเปน 4 ชั้น คือ Turbellaria, Trematoda, Monogenea และ Cestoidea<br />

(Ruppert & Barnes, 1994) ชั้นแรกเปนพวกอยูอิสระ (free-living) สวนสามชั้นหลังเปนพวกปรสิต<br />

(parasite) turbellarians เปนพวกที่อาศัยอยูในน้ําซึ่งสวนใหญอยูในทะเล แตมีบางชนิดอยูในน้ําจืดและมี<br />

นอยชนิดที่อาศัยอยูในที่ชื้นในปาบก turbellarians พบไดทั่วไปในทะเลเขตน้ําตื้น ชอบอยูตามทราย โคลน<br />

ใตกอนหินหรือเปลือกหอย การเก็บรักษา turbellarians ใช 70–90% แอลกอฮอลเก็บรักษาไดทันทีโดยไม<br />

จําเปนตองทําการคงสภาพและทําใหสลบ หรืออาจเก็บรักษาสภาพตัวอยางในสไลด<br />

รูปที่ 15 Turbellarians: Plagiostomum personatum Noren, 2002 (PMBC 20003),<br />

Plagiostermum gibbum Noren, 2002 (PMBC 20004)<br />

และ Torgea phukettensis Noren, 2002 (PMBC 20005)<br />

20


รูปที่ 16 Turbellarians รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Nemertea หรือ Rhynchocoela (หนอนริบบิ้น, ribbon- or proboscis-worms)<br />

สัตวในไฟลัมนี้แบงออกเปน 2 ชั้น คือ Anopla และ Enopla สัตวกลุมนี้ที่รูจักชนิดมีประมาณ 900<br />

ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994) สวนมากเปนสัตวทะเลที่ชอบอาศัยอยูตามพื้นทะเล เชน ในทราย โคลน<br />

หรือตามสาหรายในบริเวณน้ําตื้นริมชายฝง การเก็บรักษาตัวอยางตองใชความระมัดระวังมากเพราะในขณะที่<br />

ตัวอยางยังมีชีวิตอยู ถาแตะตองแรงเกินไป สวน proboscis หรือสวนลําตัวจะแยกขาดจากกัน ตัวอยางจะไม<br />

สมบูรณ ดังนั้นการเก็บรักษาตัวอยาง nemerteans ควรจะทําใหสลบหรือชาเสียกอนโดยใชเกล็ดคลอรัลไฮ<br />

เดรตหรือแมกนีเซียมซัลเฟตใสลงในตัวอยางที่อยูในภาชนะบรรจุน้ําทะเล การทําใหสลบหรือชาอาจใชเวลา<br />

ประมาณ 6–12 ชม. จากนั้นจึงนํามาคงสภาพใน 10% ฟอรมาลิน หรือใน 30–50% แอลกอฮอล ไมควรใช<br />

ฟอรมาลินในกลุม hoplonemerteans (จัดอยูในชั้น Enopla) เพราะวา nemerteans กลุมนี้มี stylet ซึ่งเปน<br />

อวัยวะอยูบน proboscis การใชฟอรมาลินเก็บรักษาจะทําใหอวัยวะสวนนี้ละลาย<br />

รูปที่ 17 Nemerteans: Baseodiscus quinquelineatus (Quoy & Gaimard, 1833) (PMBC 13579)<br />

และ Baseodiscus hemprichii (Ehrenberg, 1831) (PMBC 19292)<br />

21


รูปที่ 18 Nemerteans: Anoplan (ซาย) และ Enoplan (ขวา) รูปรางตาง ๆ<br />

Aschelminths<br />

(Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

สัตวในกลุมนี้ประกอบ 8 ไฟลัมดวยกัน คือ Gastrotricha, Nematoda, Nematomorpha,<br />

Rotifera, Acanthocephala, Kinorhyncha, Loricifera และ Tardigrada (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

สัตวกลุมนี้มีลักษณะรวมกันอยูอยางหนึ่ง คือ การมีชองวาง (body cavity) ภายในตัวเปนแบบเดียวกันที่<br />

เรียกวา pseudocoel สัตวแตละกลุมจะมีลักษณะอื่นแตกตางกันออกไป มีทั้งพวกที่เปนอิสระ (free living)<br />

และพวกที่เปนปรสิต (parasite) กลุมทีเปนอิสระมักเปนสัตวหนาดินขนาดเล็ก (meiofauna) มีขนาด<br />

ระหวาง 63 ไมครอน ถึง 1 มิลลิเมตร พบอาศัยอยูระหวางเม็ดตะกอนดิน อาจเรียกวา interstitial fauna ซึ่ง<br />

ในที่นี้จะกลาวถึงเพียง Gastrotricha, Nematoda, Nematomorpha, Rotifera, Kinorhyncha และ<br />

Tardigrada เนื่องจากพวก Acanthocephala และ Loricifera ไมพบรายงานวาอาศัยอยูในทะเล<br />

Gastrotricha เปนสัตวที่มีขนาดเล็กแบงออกเปน 2 อันดับ คือ Macrodasyida ซึ่งเปน<br />

สัตวทะเลทั้งหมดและ Chaetonotida (Ruppert & Barnes, 1994) ซึ่งมีทั้งอยูในทะเลและในน้ําจืด พวกที่<br />

อยูในทะเลสวนใหญพบอาศัยอยูในทรายบริเวณน้ําตื้นริมชายฝงหรือตามกอสาหราย การคงสภาพใช 10%<br />

ฟอรมาลินจากนั้นนําไปเก็บรักษาไวใน 5% ฟอรมาลิน หรือ 70% แอลกอฮอล<br />

22


รูปที่ 19 Gastrotricha: Macrodayidans รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Nematoda เปนสัตวที่มีรูปรางทรงกรวยยาว แหลมหัวแหลมทาย การคงสภาพชนิดที่มี<br />

ขนาดใหญทําไดโดยแชใน 3–5% ฟอรมาลิน และเก็บรักษาไวใน 3–5% ฟอรมาลิน สวนชนิดที่มีขนาดเล็ก<br />

ใหใสตัวอยางลงไปในหยดน้ําบนสไลด จากนั้นนําไปรมไฟ จากนั้นจึงนํามาเก็บรักษาไวใน 3–5%<br />

ฟอรมาลิน หรืออาจเก็บรักษาสภาพตัวอยางในสไลด<br />

รูปที่ 20 Nematodes (รอการจําแนกชนิด)<br />

รูปที่ 21 Nematodes รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

23


Nematomorpha (horsehair worms) เปนกลุมสัตวที่มีตัวออน (larvae) เปนปรสิตอยู<br />

ในสัตวกลุม Aschelminths บางชนิด แตเมื่อโตเต็มวัยจะเปนพวกที่ดํารงชีวิตแบบอิสระในน้ํา สัตวกลุมนี้<br />

แบงเปน 2 ชั้น คือ ชั้น Gordioda ซึ่งเปนกลุมที่อาศัยอยูในน้ําจืดและบนพื้นดินที่ชุมชื้น และชั้น<br />

Nectonematoida ซึ่งเปนสัตวที่มีจํานวนนอยชนิดอาศัยอยูในน้ําทะเล มีอยูเพียงสกุล (genus) เดียว คือ<br />

Nectonema สัตวชนิดนี้ในระยะตัวออนอยูในปูเสฉวน (hermit crab) และปู (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

การคงสภาพสัตวชนิดนี้ใช 3–5% ฟอรมาลิน และเก็บรักษาไวใน 3–5% ฟอรมาลิน เชนเดียวกัน<br />

รูปที่ 22 Nematomophs รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Rotifera โรติเฟอร (rotifer) สวนใหญพบในน้ําจืด มีเพียงไมกี่ชนิดในสกุล Seison ชั้น<br />

Seisonidea อาศัยอยูในน้ําทะเล (Ruppert & Barnes, 1994) โรติเฟอรมีรูปรางทรงกรวย สวนดานหัว<br />

(anterior) จะมีกลุมขน (cilia) ขึ้นเปนแถบอยูจํานวนมาก บางชนิดมีกลุมขนดูเหมือนกับเปนวงลอหมุน ใน<br />

ภาษาอังกฤษจึงเรียกสัตวกลุมนี้วา Wheel-animalcules บางชนิดมีคิวติเคิล (cuticle) หนาขึ้นคลุมตัว<br />

เรียกวา ลอริกา (lorica) การเก็บรักษาตัวอยางโรติเฟอรที่มีลอริกาเพื่อทําการศึกษาดานอนุกรมวิธานมีวิธีการ<br />

งาย ๆ คือ การคงสภาพทําโดยใชปเปต (pipette) ดูดตัวอยางใสลงไปใน 10% ฟอรมาลิน การเก็บรักษาถาวร<br />

ใช 2–5% ฟอรมาลิน สวนพวกที่ไมมีลอริกานั้น ตองทําใหสลบหรือชาเสียกอนโดยใชเบนซามีนไฮโดรคลอ<br />

ไรด (Benzamine hydrochloride) วิธีใชใสเบนซามีนไฮโดรคลอไรดปริมาณ 0.125–0.5 มิลลิลิตร ใสลง<br />

ในทุก ๆ 1 มิลลิลิตรของน้ําที่มีตัวอยางโรติเฟอร จากนั้นเขยาเร็ว ๆ สัตวตัวอยางก็จะสลบหรือชาภายใน 3<br />

นาที จากนั้นจึงนํามาคงสภาพโดยใส 10% ฟอรมาลิน ลงไปเพียงเล็กนอยแลวเขยา สําหรับการเก็บรักษาถาวร<br />

ใหนําตัวอยางที่คงสภาพแลวมาลางดวย 5% ฟอรมาลิน หลาย ๆ ครั้งเพื่อทําการกําจัดเอาเบนซามีนไฮโดร<br />

คลอไรดออก จากนั้นเก็บรักษาไวใน 2–5% ฟอรมาลิน<br />

24


รูปที่ 23 Rotifers รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Kinorhyncha เปนสัตวทะเลทั้งหมด พบประมาณ 150 ชนิด (Ruppert & Barnes,<br />

1994) อาศัยอยูตามพื้นทะเลที่เปนโคลนหรือตามสาหราย ทําการคงสภาพดวย 10% ฟอรมาลิน และเก็บรักษา<br />

ไวใน 2–5% ฟอรมาลิน<br />

รูปที่ 24 Kinorhynchs รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Tardigrada (water bears) มีทั้งอาศัยอยูในน้ําจืดและน้ําทะเล มีประมาณ 600 ชนิด<br />

(Ruppert & Barnes, 1994) สัตวกลุมนี้ที่อยูในทะเลสวนมากอาศัยอยูระหวางเม็ดทรายในน้ําตื้นริมชายฝง<br />

ตามกอนหิน เสาสะพานหรือตามกอสาหราย ตัวอยางกลุมนี้คงสภาพดวย 5% ฟอรมาลิน และเก็บรักษาถาวร<br />

ใน 70–80% แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 25 Echiniscus arctomys Ehrenberg 1853 (อางจาก Ruppert & Barnes, 1994)<br />

25


รูปที่ 26 Tardigrades รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Sipuncula (peanut worms)<br />

สัตวไฟลัมนี้เปนสัตวทะเลทั้งหมด มีอยูประมาณ 320 ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994) อาศัยอยู<br />

ตามริมชายฝงลงไปจนถึงน้ําลึก ชอบฝงตัวอยูในทราย โคลน ตามกอนกรวดหรือตามรอยแตกของหินและ<br />

ปะการัง สัตวชนิดนี้ลําตัวแบงออกเปนสองสวน สวนหนาสุด (anterior) เรียกวา introvert (หรือ<br />

proboscis) และสวนถัดมาเรียกวา trunk (หรือ abdomen) การเก็บรักษาตัวอยางตองทําใหสลบหรือชา<br />

เพื่อใหสวน introvert ยืดออกมาจากลําตัว โดยใชแอลกอฮอลหรือโพรพีลีนฟนอกซีทอลหรือแมกนีเซียม<br />

คลอไรดใสลงไปในภาชนะที่มีตัวอยางกับน้ําทะเลอยู จากนั้นจึงคงสภาพใน 70–90% แอลกอฮอล หรือ 4%<br />

ฟอรมาลิน โดยใชเวลาอยางนอยประมาณ 12 ชม. จากนั้นนําไปเก็บรักษาไวใน 70% แอลกอฮอล หรือ 4%<br />

ฟอรมาลิน<br />

รูปที่ 27 Phascolosoma (Phascolosoma) pacificum Keferstein, 1866 (PMBC 4702)<br />

Echiura (spoon worms)<br />

สัตวไฟลัมนี้เปนสัตวทะเลทั้งหมด มีเพียงนอยชนิดที่อาศัยอยูในน้ํากรอย สวนใหญอาศัยฝงตัวอยู<br />

ตามพื้นทะเลหรืออยูตามใตกอนหิน บางชนิดอยูตามรอยแตกของหินและปะการัง เทาที่ทราบมีประมาณ 140<br />

ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994) ตัวอยางกลุมนี้ควรจะทําใหสลบหรือชาเสียกอนเพื่อปองกันการหดตัว<br />

ของกลามเนื้อ โดยใชเมนทอลหรือหยด 90% แอลกอฮอลลงไปในน้ําหรืออาจจะใช 7% แมกนีเซียมคลอไรด<br />

และ 1% โพรพีลีนฟนอกซีทอล จากนั้นจึงนําไปคงสภาพใน 5% ฟอรมาลินที่เปนกลาง และเก็บรักษาไวใน<br />

70% แอลกอฮอล<br />

26


รูปที่ 28 Echiurans<br />

(http://www.nhc.ed.ac.uk/images/collections/invertebrates/marine/LgEchiura.jpg)<br />

Priapulida<br />

เปนไฟลัมเล็ก ๆ ซึ่งเปนกลุมของสัตวทะเลทั้งหมด มีรายงานเพียง 16 ชนิด (Ruppert & Barnes,<br />

1994) สัตวในกลุมนี้ที่มีลําตัวขนาดใหญพบอาศัยอยูในทะเลเขตหนาว มีเพียงสกุล Tubiluchus พบในแถบ<br />

เขตรอน การเก็บรักษาตัวอยางตองทําใหสลบหรือชาเสียกอนโดยใสสารละลาย 7% แมกนีเซียมคลอไรด<br />

จากนั้นจึงนําไปคงสภาพใน 5% ฟอรมาลิน หรือ Bouin’s fluid เปนเวลาประมาณ 24 ชม. แลวจึงนําไปใส<br />

ไวใน 50% แอลกอฮอล เปนเวลาประมาณ 1 วัน จากนั้นนําไปเก็บรักษาไวใน 70% แอลกอฮอล<br />

Mollusca<br />

รูปที่ 29 Priapula รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

สัตวในไฟลัมนี้มีเปนจํานวนมากมายหลายชนิด ประกอบดวยพวกหอยฝาเดียว (Class Gastropoda)<br />

หอยสองฝา (Class Bivalvia) หอยหมวกเจก (Class Monoplacophora) หมึก (Class Cephalopoda)<br />

หอยงาชาง (Class Scaphopoda) ลิ่นทะเล/หอยแปดเกล็ด/Chiton (Class Polyplacophora) และ<br />

Class Aplacophora (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

การเก็บรักษาตัวอยางที่อาศัยอยูในน้ําทําใหสลบโดยใชแมกนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมคลอไรด ยูรี<br />

เทนหรือเมนทอล สําหรับพวกหอยสองฝาใชโพรพีลีนฟนอกซีทอลไดผลดี ขอควรระวัง คือ การปลอยให<br />

27


สัตวตัวอยางสลบหรือชานานเกินไปซึ่งจะทําใหตัวอยางเนาสลายไดเร็ว พวกลิ่นทะเลและทากเปลือย (sea<br />

slug) สามารถทําใหสลบหรือชาไดโดยการแชแข็ง (freeze) โดยนําสัตวตัวอยางใสลงในภาชนะบรรจุน้ํา<br />

ทะเล เพื่อใหขยายตัวไดเต็มที่จากนั้นจึงนําไปใสในตูเย็นหรือตูแชแข็ง จนกระทั่งน้ําเย็นจนเกือบเปนน้ําแข็ง<br />

นําตัวอยางออกมาแชในฟอรมาลินเขมขนเพื่อเปนการคงสภาพ พวกมอลลัสกที่อาศัยอยูในทะเลทําการคง<br />

สภาพและเก็บรักษาไวใน 5% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง สําหรับการเก็บรักษาตัวอยางที่เปนตัวออน<br />

(larvae) ของหอยควรใช Carriker’s solution<br />

สวนหอยที่ตองการเฉพาะเปลือกมีวิธีการทําไดหลายวิธี เชน<br />

1. วิธีฝง นําเอาหอยไปไวใกลรังมดเปนวิธีที่ไดผลดีสําหรับหอยที่ไมมี operculum หรือหอยที่ไม<br />

สามารถดึงฝาปดได มดจะจัดการกับเนื้อหอย วิธีนี้ใชไดถาไมตองการใชเปลือกหอยทันทีทันใด หรืออาจจะ<br />

นําหอยไปฝงในทรายแหง ๆ และออนนุม ปลอยใหเนื้อเนาโดยทิ้งไวหลาย ๆ สัปดาห สวนที่เปนเนื้อเยื่อจะ<br />

ถูกสลายตัวโดยพวกแบคทีเรีย เหลืออยูแตสวนแข็งที่สําคัญเอาไว พรอมกับความสวยงามตามธรรมชาติ<br />

จากนั้นนําเปลือกหอยที่รวบรวมไดไปทําความสะอาดดวยการฉีดน้ําไลเนื้อเยื่อที่เหลือติดอยูออกแลวนําไป<br />

ทําความสะอาดในน้ําสบู เพื่อลางสิ่งสกปรกที่ติดแนนออกใหหมดเปนครั้งสุดทาย<br />

2. วิธีแขวน วิธีนี้ใชสําหรับทําความสะอาดหอยฝาเดียว (gastropod) ที่มีขนาดกลางและมีขนาด<br />

ใหญ หอยที่มีน้ําหนักมากบางชนิดอาจจะแขวนไวในขณะที่ยังเปนอยูโดยใชเชือกพันรอบกลามเนื้อสวนเทา<br />

จากนั้นแขวนไวบนกิ่งไม น้ําหนักของเปลือกหอยจะคอย ๆ ดึงใหเนื้อหลุดออกมาในวันเดียวหรือ 2–3 วัน<br />

ตอมา แลวนําเปลือกหอยมาทําความสะอาดโดยใชน้ําฉีดเอาสวนที่เหลือติดอยูออก<br />

3. วิธีตากแดด นําหอยฝาเดียวไปวางตากแดดหลังจากเอา operculum ออก ตั้งใหชองเปดตรงกับ<br />

แสงแดด แมลงวันจะเขาไปวางไขในเนื้อหอย ไขแมลงวันจะแตกตัวเปนหนอนและตัวหนอนเลานี้จะกินเนื้อ<br />

หอยเปนอาหาร ในขณะเดียวกันแมลงอื่น ๆ ก็มีสวนในการทําความสะอาดสวนอื่นของเปลือกหอย จากนั้น<br />

ใชน้ําฉีดเปลือกหอยเพื่อกําจัดสวนที่คางอยูออก<br />

4. วิธีแชแข็ง วิธีนี้ใชไดกับหอยที่มีสีสันและหอยที่มีเปลือกบาง นําหอยมาหอหุมดวยผา ใสไวในถัง<br />

พลาสติกนําไปวางไวในตูแชเย็น เปนเวลาประมาณ 5–6 วัน สวนที่เปนเนื้อจะหดตัวลง รวมทั้งกลามเนื้อจะ<br />

แยกออกจากเปลือกทั้งหมดหรือแยกออกเปนบางสวน ดึงเอาเนื้อหอยออกจากเปลือกจากนั้นจึงนําไปลางทํา<br />

ความสะอาด เอาสิ่งสกปรกทั้งภายในและภายนอกออก<br />

5. วิธีตม ถาใชวิธีนี้ตองระมัดระวังในการปรับระยะเวลาของการตมใหพอเหมาะกับขนาดของหอย<br />

หอยที่มีขนาดเล็กและเปลือกบางไมควรตมนาน เพราะสีและความสวยงามจะเสียไป หอยที่มีความแวววาว<br />

จะตองไมใสลงไปในน้ําเดือดทันที ครั้งแรกตองใสไวในน้ําอุน จากนั้นคอยเพิ่มอุณหภูมิของน้ําอยางชา ๆ จน<br />

เดือด หลังจากตมหอยตามระยะเวลาที่ตองการแลวก็ทิ้งไวใหน้ําเย็นลงทีละนอย ถาปลอยใหเย็นทันทีทันใด<br />

จะทําใหผิวสูญเสียความเงางาม สวนที่เปนเนื้อเอาออกโดยใชเข็มเขี่ย สวนที่เหลือก็ใชน้ําลางออก เนื้อที่เนา<br />

เหลืออยูในเปลือกเอาออกไดโดยนําไปแชไวใน Caustic Soda 2–5% (เปนของผสมของ NaOH และ<br />

NaCO) อยางออนเปนเวลาประมาณ 12 ชม.<br />

28


6. วิธีแชน้ํา วิธีนี้ใชไดทั้งในพวกหอยฝาเดียวและหอยสองฝา แตเปนวิธีที่ใชเวลานาน ทําไดโดย<br />

นําเอาหอยทะเลมาแชไวในถังน้ําจืด ดวยแรงดันออสโมติค หอยจะตายสวนที่เปนเนื้อจะเนาเปอยทีละนอย<br />

ทุกครั้งที่เปลี่ยนน้ํา เนื้อที่เนาเปอยจะลอยขึ้นมา หอยสองฝาที่มีขนาดเล็ก ถาทิ้งไวในน้ําตลอดคืน ฝาจะเปด<br />

ออกสามารถเอาเนื้อออกไดงาย<br />

สําหรับการกําจัดเอาสารพวกหินปูนที่เกาะติดอยูกับเปลือกหอยออกกระทําไดโดยใช Caustic soda<br />

หรือ Lye (น้ําดางอยางเขมขนที่ใชในการทําผงซักฟอกและสบู) เปนของผสมของโซเดียมไฮดรอกไซดและ<br />

โซเดียมซัลไฟต (Sodium sulphite, Na 2 SO 3 ) ใช Lye ใสลงในน้ํา 2 ลิตร ผสมทิ้งไวใหเย็นประมาณ 24<br />

ชม. แชหอยไวในน้ํายานี้ประมาณ 12 ชม. จากนั้นนําเปลือกหอยมาขัดถูดวยแปรงเพื่อใหสารหินปูนและสิ่ง<br />

สกปรกตาง ๆ ที่หลงเหลืออยูออกใหหมด นอกจาก Lye ยังใชกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ทําความสะอาด<br />

เปลือกหอยได แตควรมีความรูและประสบการณในการใชความเขมขนของกรด ระยะเวลาที่แชและอุณหภูมิ<br />

ที่เหมาะสมสําหรับหอยแตละชนิด ถาเปลือกหอยหนามักจะแชใน 1 N HCl เปนเวลาประมาณ 2 นาที และ<br />

ถาเปลือกหอยบางสามารถแชใน 0.5 N HCl เปนเวลาประมาณ 2 นาที หรืออาจจะใชน้ํารอนผสมกับ HCl<br />

เล็กนอย นําเอาเปลือกหอยมาจุมจากนั้นใชมีดขูดเอาสารหินปูนและสิ่งสกปรกออก<br />

รูปที่ 30 หอยฝาเดียว Lambis scorpius (Linneaus, 1758) (PMBC 19005)<br />

รูปที่ 31 หอยสองฝา Atrina (Atrina) vexillum (Born, 1778) (PMBC 8803)<br />

29


รูปที่ 32 หอยหมวกเจก (รอการจําแนกชนิด)<br />

รูปที่ 33 หมึก Cistopus indicus (d'Orbigny, 1840) (PMBC 11949)<br />

รูปที่ 34 หอยงาชาง (รอการจําแนกชนิด)<br />

Annelida<br />

รูปที่ 35 ลิ่นทะเล (รอการจําแนกชนิด)<br />

สัตวในไฟลัมนี้ แบงออกเปน 3 ชั้น คือ Polychaeta, Oligochaeta และ Hirudinea (Ruppert &<br />

Barnes, 1994) ในที่นี้จะกลาวเฉพาะ Polychaeta ซึ่งเปนสัตวทะเล<br />

Polychaeta (ไสเดือนทะเล) มีเพียงไมกี่ชนิดที่อยูในน้ําจืด สวนใหญเปนสัตวทะเลพบ<br />

อาศัยอยูทั่วไปทั้งในน้ําลึกและน้ําตื้น การเก็บรักษาตัวอยางควรจะทําใหสลบหรือชา โดยใชแมกนีเซียม<br />

ซัลเฟต แอลกอฮอลหรือ MS222 จากนั้นจึงนําไปคงสภาพใน 5% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง การเก็บ<br />

30


รักษาถาวรใช 70% แอลกอฮอล ถาตองการศึกษาทางดาน micro-anatomy นักชีววิทยาบางทานแนะนําให<br />

คงสภาพดวย Bouin’s fluid<br />

รูปที่ 36 Polychaetes: Perinereis singaporiensis (Grube, 1878) (PMBC 3942)<br />

และ Pisionidens indica (Aiyar & Alikunhi, 1940) (PMBC 10682–10702)<br />

A<br />

B<br />

C<br />

D<br />

รูปที่ 37 ไสเดือนทะเลวงศ (family): A. Nephtyidae; B. Onuphidae; C. Maldanidae<br />

และ D. Magelonidae (รอการจําแนกชนิด)<br />

Pogonophora<br />

เปนสัตวทะเลขนาดเล็ก รูปรางเรียว อาศัยอยูบนพื้นทะเล สวนใหญพบอยูในทะเลลึกตั้งแต 100–<br />

4,000 เมตร เทาที่พบมีมากกวา 80 ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994) การเก็บรักษาตัวอยางโดยการคงสภาพ<br />

ใน 70% แอลกอฮอล หรือใน 2–3% ฟอรมาลิน จากนั้นนําไปเก็บรักษาไวใน 70% แอลกอฮอล<br />

31


Arthropoda<br />

รูปที่ 38 Pogonophorans รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

สัตวในไฟลัมนี้มีจํานวนมากหลายชนิด ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะพวกที่เปนสัตวทะเลเทานั้น โดยจะ<br />

ขอกลาวเฉพาะ Subphylum Chelicerata เฉพาะกลุม Subclass Xiphosura (ชั้น Merostomata) และชั้น<br />

Pycnogonida และ Subphylum Crustacea<br />

Xiphosura (horseshoe crabs) จัดอยูในชั้น Merostomata (Ruppert & Barnes,<br />

1994) ไดแก พวกแมงดาทะเล พบเพียง 4 ชนิดใน 3 สกุลเทานั้น คือ Limulus polyphemus พบอาศัยอยูตาม<br />

ชายฝงทวีปอเมริกาเหนือ Tachypleus tridentatus อาศัยอยูตอนเหนือของชายฝงประเทศญี่ปุน T. gigas<br />

และ Carcinoscorpius rotundicaudata พบอาศัยอยูในประเทศไทย อาวเบงกอลและตามชายฝงของ<br />

ประเทศฟลิปปนส การเก็บรักษาตัวอยางใชวิธีฉีดฟอรมาลินเขาไปในเนื้อเยื่อชองทองหรือแชตัวอยางใน<br />

ฟอรมาลิน จากนั้นนําไปตากใหแหง แมงดาทะเลที่มีขนาดเล็กอาจใสขวดและเก็บรักษาไวในน้ํายา 70–90%<br />

แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 39 Carcinoscorpius rotundicauda (Latreille, 1802) (PMBC 9505)<br />

32


Pycnogonida (sea spiders) เปนพวกแมงมุมทะเล อาศัยอยูในมหาสมุทรทั่วโลก แต<br />

สวนใหญอาศัยอยูในทะเลเขตหนาว มีประมาณ 1000 ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994) การเก็บ<br />

รักษาตัวอยางเพียงแตใสลงไปใน 70–90% แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 40 Eurycyde flagella Nakamura & Chullasorn, 2000 (PMBC 17225)<br />

รูปที่ 41 Pycnogonans รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Crustacea เปน Subphylum หนึ่งในไฟลัม Arthropoda ซึ่งปจจุบันแบงออกเปน 10<br />

ชั้น ไดแก Remipedia, Cephalocarida, Branchiopoda, Ostracoda, Copepoda, Mystacocarida,<br />

Tantulocarida, Branchiura, Cirripedia และ Malacostraca (Ruppert & Barnes, 1994) โดยมีกลุมที่<br />

สําคัญ คือ Branchiopoda, Ostracoda, Copepoda, Cirripedia และ Malacostraca<br />

กลุม Malacostraca เปนกลุมสัตวที่ประกอบดวยหลายอันดับ ไดแก อันดับ<br />

Stomatopoda (กั้ง) (Subclass Hoplocarida) อันดับ Decapoda (พวกกุง ปู) อันดับ Mysidacea อันดับ<br />

Cumacea อันดับ Amphipoda (พวกแอมฟพอด) อันดับ Isopoda (พวกไอโซพอด) และอันดับ<br />

Tanaidacea เปนตน<br />

การเก็บรักษาตัวอยางสัตวกลุมครัสเตเซียน ควรทําการบันทึกสีสันของตัวอยางเสียกอน<br />

เพราะเมื่อตัวอยางถูกน้ํายาคงสภาพ สีของตัวอยางจะหายไปอยางรวดเร็ว ซึ่งในบางครั้งการแยกวิเคราะห<br />

ตัวอยางสัตวในกลุมนี้ตองใชสีเขาชวยในการแยก พวกครัสเตเซียนขนาดเล็ก เชน กุงและแอมฟพอดทําการ<br />

คงสภาพดวย 5% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง เปนเวลาอยางนอยประมาณ 24 ชม. จากนั้นจึงนําไปเก็บ<br />

รักษาไวใน 70–90% แอลกอฮอล หรือพวกแอมฟพอดอาจจะเก็บรักษาไวใน 5% ฟอรมาลิน สําหรับ<br />

33


พวกครัสเตเซียนที่อาศัยอยูในน้ําทะเล (pelagic form) ควรจะทําการคงสภาพดวย Steedman’s solution,<br />

โพรพีลีนฟนอกซีทอลหรือโพรพีลีนไกลคอล (Propylene glycol) กอนที่จะนําไปเก็บรักษาไวใน 70–90%<br />

แอลกอฮอล<br />

ครัสเตเซียนที่มีขนาดใหญ เชน กุง ปู ตองทําใหสลบหรือชาเสียกอนที่จะทําการคงสภาพ<br />

เพราะฟอรมาลินเปนสารคงสภาพที่จะทําใหสัตวพวกนี้สลัดขาออกได การทําใหสลบหรือชาใชคลอรัลไฮ-<br />

เดรตหรือ MS222 การทําใหสัตวกลุมนี้สลบและตายโดยไมสลัดอวัยวะอยางใดอยางหนึ่งทิ้ง อาจทําไดงาย<br />

ๆ โดยไมตองใชสารเคมีเลย เชน การนําเอาสัตวตัวอยางจากทะเลมาใสไวในน้ําจืด หรือทําการลดหรือเพิ่ม<br />

อุณหภูมิใหแตกตางไปจากที่สัตวตัวอยางอาศัย สัตวที่อาศัยในน้ําเย็นนํามาแชในน้ําที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น สวน<br />

สัตวที่อยูในเขตรอนนํามาแชในน้ําที่มีน้ ําแข็ง เปนตน พวกครัสเตเซียนขนาดใหญควรจะคงสภาพดวย 5%<br />

ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง อยางนอย 3–5 วัน และควรเติมกลีเซอรีนประมาณ 2–3 หยดลงไปใน<br />

ฟอรมาลินเพื่อปองกันไมใหตัวอยางเปราะเกินไป หลังจากคงสภาพนําตัวอยางไปลางในน้ําจืดหลายครั้ง ๆ<br />

จากนั้นจึงนําไปเก็บรักษาไวใน 70% แอลกอฮอล และเพื่อปองกันมิใหระยางคของตัวอยางสวนหนึ่งสวนใด<br />

หลุดไป ในระหวางเคลื่อนยายเปลี่ยนน้ํายาควรหอตัวอยางดวยผาบางเสียกอน<br />

รูปที่ 42 Crustaceans รูปรางตาง ๆ: a) Cirripedia, b) Copepoda, c) Isopoda, d) Branchiopoda<br />

และ e) Decapoda (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

รูปที่ 43 Cirripedian: Lepas anserifera (Linneaus, 1758) (PMBC 19294)<br />

34


รูปที่ 44 Stomatopod: Gonodactylus chiragra (Fabricius, 1781) (PMBC 5127)<br />

รูปที่ 45 Decapod: Penaeus (Penaeus) monodon Fabricius, 1798 (PMBC 17846)<br />

และ Thalamita crenata (Latreille, 1829) (PMBC 14384)<br />

Hemichordata<br />

สัตวไฟลัมนี้เปนสัตวทะเลทั้งหมด รูปรางคลายพวกหนอน มักอาศัยอยูตามพื้นทราย พื้นโคลนใน<br />

ทะเล รวมทั้งกอนหินและเปลือกหอย เชน acorn-worm เปนตน พวก hemichordate ควรทําใหสลบหรือ<br />

ชาเสีย กอน โดยคอย ๆ เติม 95% แอลกอฮอล ลงไปในภาชนะที่บรรจุน้ําทะเลที่มีตัวอยางอยู จนกระทั่งความ<br />

เขมขนของ 95% แอลกอฮอล เปนสัดสวน 1:9 ของน้ําทะเล หรืออาจจะใชทําใหสลบดวย 7% แมกนีเซียม<br />

คลอไรด จากนั้นจึงนํามาคงสภาพใน 5% seawater/formalin หากตองการศึกษาทางดาน histology ควร<br />

คงสภาพใน Bouin’s fluid การคงสภาพใชเวลาประมาณ 24 ชม. ตอจากนั้นจึงนําไปเก็บรักษาไวใน 5%<br />

seawater/formalin และหากคงสภาพดวย Bouin’s fluid ควรเก็บรักษาไวใน 70% แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 46 Hemichordata: Enteropneusts รูปรางตาง ๆ (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

35


Urochordata (tunicates)<br />

จัดเปน Subphylum หนึ่งในไฟลัม Chordata สัตวในกลุมนี้เปนพวกสัตวทะเลทั้งหมด พบ<br />

ประมาณ 1,250 ชนิด แบงออกเปน 3 กลุม คือ Ascidiacea, Thaliacea และ Larvacea (Ruppert &<br />

Barnes, 1994) ตัวอยางสัตวในกลุม Ascidiacea ไดแก พวกเพรียงหัวหอม (sea-squirts หรือ ascidian)<br />

เปนพวกเกาะติดอยูกับที่ (sessile) ตามกอนหิน สาหราย ริมชายฝงโดยทั่วไป สวน Thaliacea และ<br />

Larvacea เปนพวกแพลงกตอน พบในทะเลเขตรอนและเขตอบอุน การเก็บรักษาตัวอยางพวก ascidians<br />

ควรจะทําใหชาหรือสลบ โดยใช 1–2% โพรพีลีนฟนอกซีทอล แมกนีเซียมซัลเฟตหรือเมนทอลหยดลงไปใน<br />

ภาชนะที่บรรจุน้ําทะเลและตัวอยางอยู จากนั้นนําไปคงสภาพดวย 10% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง แลว<br />

จึงนําไปเก็บรักษาไวใน 70–90% แอลกอฮอล หรือ 5% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง สวนการเก็บรักษา<br />

ตัวอยางพวก Thaliacea และ Larvacea นั้น ทําการคงสภาพและเก็บรักษาไวใน 5% ฟอรมาลินหรือ 70–<br />

90% แอลกอฮอล<br />

รูปที่ 47 Urochordata: Polycarpa sp. B (PMBC 20268)<br />

รูปที่ 48 Urochordata: Ascidians รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

36


Cephalochordata (lancelets)<br />

จัดเปน Subphylum หนึ่งในไฟลัม Chordata พบประมาณ 25 ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

สัตวพวกนี้ ไดแก amphioxus อาศัยฝงตัวอยูตามพื้นทรายหรือโคลน การเก็บรักษาตัวอยางควรทําการคง<br />

สภาพและเก็บรักษาโดยใช 5% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง<br />

รูปที่ 49 Branchiostoma belcheri (Gray, 1847) (PMBC 6955–6962)<br />

รูปที่ 50 Amphioxus: Branchiostoma lanceolatum (Pallas, 1774)<br />

http://www.inaf.cnrs-gif.fr/depsn/2/techeq_2.html<br />

Chaetognatha (หนอนธนู, arrow worms)<br />

สัตวในไฟลัมนี้เปนดํารงชีพเปนแพลงกตอนอาศัยลองลอยอยูในทะเล พบประมาณ 70 ชนิด<br />

(Ruppert & Barnes, 1994) ยกเวนสกุล Spadella ซึ่งดํารงชีพอยูพื้นทะเล สัตวกลุมนี้สวนใหญพบใน<br />

ทะเลเขตรอนและอบอุน การเก็บรักษาตัวอยางสามารถทําการคงสภาพและเก็บรักษาใน 5% ฟอรมาลิน หรือ<br />

70–90% แอลกอฮอล<br />

37


รูปที่ 51 Chaetognaths (รอการจําแนกชนิด)<br />

รูปที่ 52 Chaetognaths รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

Echinodermata<br />

สัตวในไฟลัมนี้ประกอบดวยพวกดาวทะเล (Class Asteroidea) ดาวเปราะ (Class Ophiuroidea)<br />

เมนทะเล (Class Echinoidea) ปลิงทะเล (Class Holothuroidea) และขนนกทะเล (Class Crinoidea)<br />

(Ruppert & Barnes, 1994) การเก็บรักษาสัตวกลุมนี้ที่มีเปลือกแข็ง เชน ดาวทะเล เมนทะเล ฯลฯ ทําการคง<br />

สภาพโดยใช 10–12% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปนกลาง ไมควรใชฟอรมาลินที่ยังไมไดปรับ pH เปนกลางใน<br />

การคงสภาพ เพราะจะทําลายสวนโครงสรางหินปูน ในการคงสภาพอาจใช 95–100% แอลกอฮอล ได<br />

เชนเดียวกัน แตบางครั้งอาจทําใหสวนเนื้อเยื่อที่ออนนุมเกิดการหดตัวไดมากเกิน พวกดาวเปราะ (brittle<br />

star) และขนนกทะเล (feather-stars) โดยปกติมักแตกหักไวงายควรผานขั้นตอนทําใหสัตวสลบหรือชา<br />

โดยแชตัวอยางไวในน้ําจืดประมาณ 2–3 ชม. หรือแชน้ําจืดไวในตูเย็น พวกปลิงทะเล (sea-cucumber) ตอง<br />

ทําใหสลบหรือชาเสียกอนโดยใชแมกนีเซียมซัลเฟต เมนทอลหรือโพรพีลีนฟนอกซีทอลใสลงไปในภาชนะ<br />

ที่แชตัวอยางอยูปลอยทิ้งไวจนสัตวไมตอบสนอง จากนั้นรีบทําการคงสภาพโดยทันที เพราะถาทิ้งไวนาน<br />

เกินไปเนื้อเยื่อจะเนาสลายไดงายและอยางรวดเร็ว อีกวิธีหนึ่ง คือ แชตัวอยางปลิงไวในถังน้ําทะเลใหขยายตัว<br />

38


เต็มที่แลวใสน้ํารอนลงไปในถังบรรจุตัวอยางทันที จากนั้นจึงนํามาคงสภาพใน 70–90% แอลกอฮอล พวก<br />

echinoderms ทั้งหมดหลังจากคงสภาพนํามาเก็บรักษาไวใน 70–90% แอลกอฮอล การคงสภาพตัวอยาง<br />

พวกเมนทะเลควรเจาะรูบริเวณริมปากของตัวอยาง เพื่อใหน้ํายาซึมเขาไปภายในตัว<br />

พวก echinoderms ที่มีโครงสรางแข็ง เชน เมนทะเล ดาวเปราะ และดาวทะเล สามารถเก็บรักษา<br />

โดยการตากแหงได แตกอนจะทําแหงควรทําการคงสภาพเสียกอนดวย 10–12% ฟอรมาลินที่ปรับ pH เปน<br />

กลาง<br />

ถาตองการเก็บรักษาแตเฉพาะสวนเปลือกของกลุมเมนทะเล ทําไดโดยการนําเอาตัวอยางมาแชใน<br />

น้ํายาทําความสะอาด เชน chlorox หรือ Sodium hypochlorite กอนใชควรทําการเจือจางน้ํายาเหลานี้โดย<br />

ผสมกับน้ํา จากนั้นทําการทดสอบวาความเขมขนเทาใดจึงจะเหมาะกับตัวอยาง แลวจึงใชมีดผาสวนที่เปน<br />

เนื้อเยื่อ (peristomial membrane) เอาอวัยวะภายในออก นําตัวอยางไปจุมในน้ํายา ใชเครื่องมือแข็ง ๆ ขัดถู<br />

หรือดึงเอาสวนที่หอหุมเปลือกออก การปฏิบัติงานควรระมัดระวังเมื่อใชน้ํายาที่มีความเขมขนสูง เพราะน้ํายา<br />

อาจทําลายบางสวนของเปลือกไดและเปนอันตรายตอผิวหนังของผูปฏิบัติงาน ขณะปฏิบัติงานควรมีภาชนะ<br />

ใสน้ําอยูขาง ๆ การใชน้ํายาทําความสะอาดในการเก็บรักษาเปลือกของพวกเมนทะเลนี้จะไมทําใหลายสีของ<br />

ธรรมชาติที่เปลือกของตัวอยาง<br />

รูปที่ 53 ดาวทะเล Pentaceraster gracilis (Lütken, 1871) (PMBC 10287)<br />

รูปที่ 54 ดาวเปราะ Ophiarachnella gorgonia (Müller & Troschel, 1842) (PMBC 5378)<br />

39


รูปที่ 55 เมนทะเล Diadema setosum (Leske, 1778) (PMBC 2789)<br />

และ Prionocidaris verticillata (Lamarck, 1816) (PMBC 9554)<br />

รูปที่ 56 ปลิงทะเล Holothuria (Thymiosycia) hilla Lesson, 1830 (PMBC 9228 และ 9301)<br />

รูปที่ 57 ขนนกทะเล Stephanometra indica (Smith, 1876) (PMBC 3091)<br />

Bryozoa (Polyzoa หรือ Ectoprocta)<br />

สัตวในไฟลัมนี้สวนใหญอาศัยอยูในทะเล แตมีบางชนิดอาศัยอยูในน้ําจืด มีทั้งอยูเปนกลุม<br />

(colony) และอยูเดี่ยว ๆ (solitary) พบประมาณ 5,000 ชนิด (Ruppert & Barnes, 1994) การเก็บรักษา<br />

ตองทําใหสลบหรือชาเสียกอน โดยใชเมนทอลหรือแมกนีเซียมซัลเฟต จากนั้นจึงคงสภาพดวย Bouin’s<br />

fluid และเก็บรักษาไวใน 90% แอลกอฮอล<br />

40


รูปที่ 58 Cigclisula sp. (PMBC 11126)<br />

Entoprocta<br />

รูปที่ 59 Bryozoans รูปรางตาง ๆ (Barnes, Calow & Olive, 1994)<br />

เปนสัตวไฟลัมเล็ก ๆ ซึ่งมีทั้งอาศัยอยูในน้ําเปนกลุมหรืออยูเดี่ยว ๆ สวนใหญเปนสัตวทะเลมีเพียง<br />

ไมกี่ชนิดในสกุล Urnatella ที่อาศัยอยูในน้ําจืด สัตวในกลุมนี้มีประมาณ 150 ชนิด พบเกาะติดอยูกับหิน<br />

เปลือกหอย เปนตน หรืออยูรวมกับฟองน้ํา ไสเดือนทะเลและ Bryozoa เปนตน (Ruppert & Barnes,<br />

1994) การเก็บรักษาสัตวกลุมนี้ตองทําใหสลบหรือชาเสียกอน โดยใชเมนทอลหรือแมกนีเซียมซัลเฟต<br />

จากนั้นทําการคงสภาพดวย Bouin’s fluid จากนั้นจึงนําไปเก็บรักษาไวใน 70–90% แอลกอฮอล<br />

41


รูปที่ 60 Loxosoma sam Nielsen, 1996 (PMBC 5348)<br />

รูปที่ 61 Marine entoproct: Pedicellina sp. (Ruppert & Barnes, 1994)<br />

Brachiopoda (lamp shells)<br />

สัตวในไฟลัมนี้เปนสัตวทะเลทั้งหมด คลายหอยสองฝา ในปจจุบันพบประมาณ 325 ชนิด (Ruppert<br />

& Barnes, 1994) การเก็บรักษาตองทําใหสลบหรือชาเสียกอน โดยเติมแอลกอฮอลลงไปในน้ําเพียงเล็กนอย<br />

หรือจะใชสารอื่น เชน MS222 และโพรพีลีนฟนอกซีทอล จากนั้นจึงนําไปคงสภาพและเก็บรักษาไวใน 70–<br />

90% แอลกอฮอล แตกอนที่จะคงสภาพควรใชเศษไมเล็ก ๆ ใสขวางระหวางเปลือกของตัวอยาง เพื่อใหน้ํายา<br />

ซึมเขาไปในสวนเนื้อของตัวอยางได<br />

Chordata (Pisces)<br />

รูปที่ 62 Lingula anatina (Lamarck, 1801) (PMBC 10136)<br />

การเก็บรักษาตัวอยางปลาใหคงสภาพดวย 10% ฟอรมาลิน และเก็บรักษาไวใน 5–10% ฟอรมาลิน<br />

หากปลามีขนาดใหญควรผาชองทอง เพื่อใหน้ํายาซึมตัวภายในตัว ปองกันไมใหอวัยวะภายในเนาเปอย<br />

42


รูปที่ 63 Cephalopholis miniata (Forsskål, 1775) (PMBC 9837)<br />

43


ตารางที่ 1 การเก็บรักษาสัตวทะเลในแตละกลุม<br />

กลุมสัตว การทําใหสลบหรือชา การคงสภาพ การเก็บรักษา<br />

Protozoa (Foraminifera<br />

และ Radiolaria)<br />

–<br />

50% alcohol หรือ 3-5% neutral<br />

formalin<br />

70–90% alcohol หรือ 3-5% neutral<br />

formalin<br />

Porifera<br />

แชใน 50% alcohol ประมาณ 12<br />

ชม.<br />

50% alcohol ประมาณ 12 ชม.<br />

70% alcohol หรือเก็บแหงไดโดยแชใน<br />

น้ําจืดประมาณ 2 ชม. แลวนํามาผึ่งให<br />

แหง<br />

Coelenterata<br />

Cnidaria<br />

– Hydrozoa<br />

– Scyphozoa<br />

– Anthozoa<br />

Sea anemone<br />

Hard coral<br />

หรือ<br />

menthol, MS222, MgSO 4 , MgCl2,<br />

propylene phenoxetol, Stovaine<br />

หรือ formalin เจือจาง<br />

–<br />

menthol, MS222, MgSO 4 , MgCl 2<br />

–<br />

20% neutral formalin<br />

20% neutral formalin<br />

20% neutral formalin<br />

70% alcohol<br />

10% neutral formalin หรือ 70% alcohol<br />

10% neutral formalin หรือ 70% alcohol<br />

10% neutral formalin หรือ 70% alcohol<br />

70% alcohol<br />

Ctenophra<br />

chloral hydrate<br />

chromic/osmic acid mixture หรือ<br />

flemming solution<br />

70% alcohol<br />

Platyhelminthes<br />

(Turbellaria)<br />

–<br />

–<br />

70–90% alcohol<br />

Nemertea<br />

chloral hydrate หรือ MgSO 4<br />

10% neutral formalin หรือ 30–50%<br />

alcohol<br />

3–5% neutral formalin หรือ 70–90%<br />

alcohol<br />

Aschelminths<br />

– Gastrotricha<br />

– Nematoda<br />

– Nematomorpha<br />

– Rotifera<br />

– Kinoryncha<br />

– Tardigrada<br />

–<br />

–<br />

–<br />

Benzamine hydrochloride<br />

–<br />

–<br />

10% formalin<br />

3–5% formalin<br />

3–5% formalin<br />

10% formalin<br />

10% formalin<br />

5% formalin<br />

5% formalin หรือ 70% alcohol<br />

3-5% formalin<br />

3–5% formalin<br />

2–5% formalin<br />

2–5% formalin<br />

70–80% alcohol<br />

Sipuncula<br />

alcohol, MgCl 2 หรือ propylene<br />

phenoxetol<br />

70–90% alcohol หรือ 4% formalin<br />

70% alcohol หรือ 4% formalin<br />

Echiura<br />

mentol, 90% alcohol, 7% MgCl 2<br />

หรือ 1% propalene phenoxitol<br />

5% neutral formalin<br />

70% alcohol<br />

44


ตารางที่ 1 การเก็บรักษาสัตวทะเลในแตละกลุม (ตอ)<br />

กลุมสัตว การทําใหสลบหรือชา การคงสภาพ การเก็บรักษา<br />

Priapulida<br />

7% MgCl 2<br />

5% formalin หรือ Bouin’s fluid 70% alcohol<br />

Mollusca<br />

– Bivalvia (Pelecypoda)<br />

– Polyplacophora<br />

(Chiton) และ<br />

nudibranch<br />

– Larvae<br />

MgSO 4 , MgCl 2 , urethane หรือ<br />

menthol<br />

propylene phenoxetol<br />

ใสภาชนะบรรจุในน้ําทะเล และ<br />

นําไปใสในตูแชแข็ง<br />

–<br />

5% neutral formalin<br />

–<br />

5% neutral formalin<br />

Carriker’s Solution<br />

Annelida<br />

– Polychaeta<br />

MgSO 4 , alcohol หรือMS 222<br />

5% neutral formalin<br />

70% alcohol<br />

Pogonophora<br />

–<br />

70% alcohol หรือ 2-3% formalin<br />

70% alcohol<br />

Arthropoda<br />

– Xiphosura<br />

– Pycnogonida<br />

–Crustacea (pelagic<br />

form)<br />

Small crustaceans<br />

large crustaceans<br />

–<br />

–<br />

–<br />

–<br />

chloral hydrate, MS 222 หรือนํา<br />

สัตวทะเลมาใสในน้ําจืดหรือทํา<br />

การลดหรือเพิ่มอุณหภูมิใหตาง<br />

จากที่สัตวอาศัย<br />

formalin<br />

70–90% alcohol<br />

steedman’s solution, propylene<br />

phenoxetol หรือ propylene glycol<br />

5% neutral formalin<br />

5% neutral formalin (ควรใสกลีเซอ<br />

รีนลงไปใน formalin เพื่อปองกัน<br />

ตัวอยางเปราะ<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol หรือ 5% neutral<br />

formalin<br />

70% alcohol<br />

Hemichordata<br />

alcohol, 7% MgCl 2<br />

5% seawater/formalin หรือ Bouin’s<br />

fluid<br />

5% seawater/formalin หรือ 70%<br />

alcohol<br />

Urochordata<br />

– Ascidiacea<br />

– Thaliacea และ<br />

Larvacea<br />

1–2% propylene phenoxetol,<br />

MgSO 4 , หรือ menthol<br />

–<br />

10% buffered formalin<br />

5% neutral formalin หรือ 70–90%<br />

alcohol<br />

70–90% alcohol หรือ 5% neutral<br />

formalin<br />

5% neutral formalin หรือ 70–90%<br />

alcohol<br />

Cephalochordata<br />

–<br />

5% neutral formalin<br />

5% neutral formalin<br />

Chaetognatha<br />

5% formalin หรือ 70–90% alcohol<br />

5% formalin หรือ 70–90% alcohol<br />

45


ตารางที่ 1 การเก็บรักษาสัตวทะเลในแตละกลุม (ตอ)<br />

กลุมสัตว การทําใหสลบหรือชา การคงสภาพ การเก็บรักษา<br />

Echinodermata<br />

– Asteroidea (ดาวทะเล)<br />

และ Echinoidea (เมน<br />

ทะเล)<br />

– Ophiuroidea (ดาว<br />

เปราะ) และ Crinoidea<br />

(ขนนกทะเล)<br />

– Holothuroidea<br />

(ปลิงทะเล)<br />

–<br />

แชน้ําจืดประมาณ 2–3 ชม. หรือแช<br />

น้ําจืดไวในตูเย็น<br />

MgSO 4 , menthol หรือ propylene<br />

phenoxetol<br />

10–12 % neutral formalin หรือ 95–<br />

100 % alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

กลุมที่มีโครงสรางแข็งเก็บแหงไดโดย<br />

นํามาคงสภาพกอน จากนั้นนําไปผึ่งให<br />

แหง<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

Bryozoa<br />

menthol หรือ MgSO 4<br />

Bouin’s solution<br />

90% alcohol<br />

Entoprocta<br />

menthol หรือ MgSO 4<br />

Bouin’s solution<br />

70–90% alcohol<br />

Brachiopoda<br />

alcohol หรือ MS 222, propylene<br />

phenoxetol<br />

70–90% alcohol<br />

70–90% alcohol<br />

Pisces<br />

–<br />

10% formalin<br />

5–10% formalin<br />

คําขอบคุณ<br />

ขอขอบคุณ คุณวรรณเกียรติ ทับทิมแสง ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล<br />

ชายฝงทะเล และปาชายเลน และ ดร. สมชัย บุศราวิช หัวหนากลุมพิพิธภัณฑและสถานแสดงพันธุสัตวและ<br />

พืชทะเล ที่ไดสนับสนุนงานการจัดการพิพิธภัณฑสัตวและพืชทะเล ดร. อนุวัฒน นทีวัฒนา และ ผศ. ดร. ป-<br />

ติวงศ ตันติโชดก (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ) สําหรับขอมูลเบื้องตนของเอกสารฉบับนี้ รวมทั้งคุณรัชนี สิริ-<br />

เวชพันธุ คุณวราริน วงษพานิช คุณธนัญญา ไทยกลาง และเจาหนาที่ของพิพิธภัณฑฯ ที่มีสวนในการพัฒนา<br />

งานของพิพิธภัณฑฯ ที่ผานมา Dr. Clare Valentine และ Dr. Gordon L. J. Paterson (Natural History<br />

Museum, England) สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับสารหรือน้ํายาเคมีที่ใชในการคืนสภาพตัวอยางแหง คุณ<br />

พงษรัตน ดํารงโรจนวัฒนา (มหาวิทยาลัยบูรพา) สําหรับเอกสารเกี่ยวกับการเก็บและรักษาตัวอยางสัตว คุณ<br />

นีรนุช ชัยทอง และคุณมูรนีย บริบูรณสุข นักศึกษาฝกงานจากคณะเกษตรศาสตร นครศรีธรรมราช ที่ชวย<br />

ถายรูปตัวอยางบางสวน คุณไผทรัตน สิงหดํา ที่ชวยออกแบบปกเอกสารและตกแตงรูป และคุณนิภาวรรณ<br />

46


บุศราวิช ดร. สมชัย บุศราวิช คุณกาญจนา อดุลยานุโกศล คุณอุกกฤต สตภูมินทร และคุณวราริน วงษพานิช<br />

ที่ชวยอานและแนะนําแกไขตนฉบับของเอกสารนี้<br />

เอกสารที่ใชประกอบการเรียบเรียง<br />

ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และอัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ. 2540. เอกสารประกอบการเรียน วิชาปฏิบัติการสัตว<br />

ทะเลที่ไมมีกระดูกสันหลัง. ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย. 234 หนา<br />

เทพ เมนะเศวต. 2506. การเก็บรักษาสัตวน้ําที่ไมมีกระดูกสันหลัง วารสารการประมงปที่ 16 (1): 59–66.<br />

สุนันท ภัทรจินดา จิตติมา อายุตตะกะ ธีระพงศ ดวงดี พันธุทิพย วิเศษพงษพันธุ สุวัฒน ปลื้มอารมณ เยาว<br />

ลักษณ มั่นธรรม ชวาพร จิตตนูนท สมหมาย เจนกิจการ สุเมตต ปุจฉาการ. 2548. เอกสาร<br />

ประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการสํารวจขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพสัตวใน<br />

ระบบนิเวศทะเลและชายฝง. โครงการสํารวจและจัดทําขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพ. 216<br />

หนา<br />

Barnes, R.S.K., P. Calow & P.J.W. Olive. 1994. The invertebrates: a new synthesis. Blackwell<br />

scientific publications. Austria. 488 pp.<br />

Brusca, R.C. 1973. A handbook of the common intertidal invertebrates of the Gulf of<br />

California. The University Press of Arizona, Arizona, 427 pp.<br />

Marr, J. 1963. Some notes on the preservation of marine animals. Journal du Conseil 28(1):<br />

121–125.<br />

Ruppert, R.E. & R.D. Barnes. 1994. Invertebrate zoology. Saunders College Publishing.<br />

United States of America. 1056 pp.<br />

Wagstaffe, R. & J.H. Fidler (editors). 1970. The preservation of natural history specimens.<br />

Neill & Co.Ltd. Edinburgh. 205 pp.<br />

47

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!