Academia.eduAcademia.edu
United Nations International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination CERD/C/THA/1-3 Distr.: General 5 October 2011 Original: English Committee on the Elimination of Racial Discrimination Reports submitted by States parties under article 9 of the Convention First to third periodic reports of States parties due in 2008 Thailand [28 July 2011] GE.11-46262 (E) 141011 181011 CERD/C/THA/1-3 CERD/C/THA/1-3 องคการสหประชาชาติ อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ การเผยแพร : ทั่วไป 5 ตุลาคม 2554 ตนฉบับ : ภาษาอังกฤษ คณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ รายงานของประเทศฉบับนี้จัดทําตามพันธกรณีขอ 9 ของอนุสัญญาระหวางประเทศ วาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ รายงานผลการดําเนินงานของประเทศไทยตามอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ฉบับที่ 1-3) ประเทศไทย [28 กรกฎาคม 2554] GE.11-46262 CERD/C/THA/1-3 Contents Paragraphs I. II. III. IV. V. Introduction ............................................................................................................. 1–5 A. Accession as a State party............................................................................... 1–2 B. Process of report preparation .......................................................................... 3 C. Initial explanation ........................................................................................... Baseline data on demography, ethnic groups and alien population in Thailand ..... 4–5 6–40 A. Demographic situation, ethnic groups and alien population in Thailand ........ 6–7 B. The population of Thailand............................................................................. 8–40 Analysis of implementation under the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination ................................................ 41–171 Article 1: Definition of racial discrimination in Thai domestic laws ..................... 41–43 Article 2: Condemnation of racial discrimination and policy to eliminate racial discrimination ............................................................................................... 44–50 Article 3: Condemnation of racial division and apartheid ....................................... 51 Article 4: Condemnation of dissemination of thoughts or organisations on the basis of racial superiority.............................................................................. 52–57 Article 5: Guarantee of a person’s right to non-discrimination ............................... 58–144 Article 6: Protection and remedy............................................................................. 145–156 Article 7: Strategies on education and teaching, culture and information technology ............................................................................................................... 157–171 Implementation of the Durban Declaration and Programme of Action by Thai Government agencies ................................................................................. 172–182 Conclusion .............................................................................................................. 183–186 List of Tables Table 1 Table 2 Table 3 Table 4 Table 5 Table 6 Table 7 Table 8 Table 9 GE.11-46262 Classification of Ethnic Groups by Language Families Statistics of Communities on the Highlands in 20 Provinces of Thailand Classified by Ethnic Groups Number of Ethnic Group Population in the Northeast (Esan) by Language Family Group Statistics on Legal Counseling Requests and Provision and Complaints – Nationwide and in 5 Southern Border Provinces, Classified by Types of Issues, Fiscal Year 2006 Summary of Travel In-Out of Thailand during 2006-2007 Summary of Complaints Received in 2002-2003, National Human Rights Commission Summary of Complaints, Classified by Types of Violators, 2006, National Human Rights Commission Statistics of Financial Assistance to the Victims and Defendants in Criminal Cases, Years 2002-2006 Statistics on Categories of Criminal Offences that Witnesses have Filed Requests for Protection to the Witness Protection Office, Fiscal Year 2006 CERD/C/THA/1-3 สารบัญ สวนที่ 1 ความนํา ก. การเขาเปนภาคี ข. กระบวนการจัดทํารายงาน ค. คําชี้แจงเบื้องตน สวนที่ 2 ขอมูลพืน้ ฐานดานสภาวะประชากร กลุม ชาติพนั ธุ และประชากรตางดาวในประเทศไทย ก. สถานการณดานประชากร กลุมชาติพันธุ และประชากรตางดาวในประเทศไทย ข. ประชากรของไทย ยอหนา 1–5 1–2 3 4–5 6–40 6–7 8–40 สวนที่ 3 การวิเคราะหผลการดําเนินการตามขอบัญญัตขิ องอนุสญ ั ญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิ ทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ 41–171 ขอ 1 คําจํากัดความของการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในกฎหมายภายใน 41–43 ขอ 2 การประณามการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติและนโยบายขจัดการเลือกปฏิบัติ ทางเชื้อชาติ 44–50 ขอ 3 การประณามการแบงแยกทางเชื้อชาติและลัทธิแบงแยกผิว 51 ขอ 4 การประณามการเผยแพรความคิดหรือองคกรที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความเหนือกวา ทางเชือ้ ชาติ 52–57 ขอ 5 การประกันสิทธิของบุคคลที่จะไมถูกเลือกปฏิบัติ 58-144 ขอ 6 การคุมครองเยียวยา 145–156 ขอ 7 มาตรการเกีย่ วกับการศึกษาและการสอน วัฒนธรรมและสารสนเทศ 157–171 สวนที่ 4 การอนุวตั ปิ ฏิญญาและแผนปฏิบตั กิ ารเดอรบนั ของหนวยราชการไทย 172–182 สวนที่ 5 สรุป 183–186 ตารางแสดงขอมูลประกอบรายงาน ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 แสดงการจําแนกกลุมชาติพันธุตามตระกูลภาษา แสดงขอมูลชุมชนบนพื้นที่สูง 20 จังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2545 แสดงจํานวนของประชากรกลุมชาติพันธุตามตระกูลภาษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) สถิติเรื่องที่ขอรับและใหคําปรึกษาทางกฎหมายและเรื่องราวรองทุกขทั่วประเทศสําหรับ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ปงบประมาณ 2549 จําแนกตามประเภทเรื่อง สรุปการเดินทางเขา-ออกประเทศไทยป 2549 และป 2550 สรุปผลการรับเรื่องรองเรียนป พ.ศ. 2545 และ 2546 (ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ) สรุปผลการรับเรื่องรองเรียน จําแนกตามประเภทของผูกระทําละเมิด (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ) สถิติการชวยเหลือทางการเงินแกผูเสียหายและจําเลยในคดีอาญา ป 2545-2549 สถิติกลุมความผิดอาญาที่พยานยื่นคํารองขอรับการคุมครองความปลอดภัย ณ สํานักงานคุมครองพยานประจําปงบประมาณ 2549 GE.11-46262 CERD/C/THA/1-3 Annexes I. Stages in report preparation II. Projects to promote the rights and well-being of ethnic groups implemented by the public, private and civil society sectors III. Sample cases of justice conduct for ethnic groups GE.11-46262 CERD/C/THA/1-3 ภาคผนวก 1. ขั้นตอนการจัดทํารายงาน 2. โครงการสงเสริมสิทธิและสวัสดิภาพความเปนอยูของกลุมชาติพันธุที่ดําเนินการ โดยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม 3. ตัวอยางกรณีการอํานวยความยุติธรรมใหกับกลุมชาติพันธุ GE.11-46262 1 I.Introduction A. Accession as a State party 1. Thailand acceded to the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination (CERD) on 28 January 2003, and the Convention has entered into force for Thailand from 27 February 2003. Upon its entry as a State Party to CERD, Thailand made an interpretative declaration that the articles of CERD will not apply beyond the framework of Thailand’s Constitution and Thai laws. The country also made two reservations, Article 4 and Article 22. Article 4 concerns affirmative measures to eliminate the incitement to racial discrimination. Thailand will comply with this Article only when deemed necessary to enact new laws. As for Article 22, Thailand will not be bound to submit cases to the International Court of Justice for consideration regarding the settlement of disputes among States Parties. 2. This Thailand country report has been prepared to meet its obligations under Article 9 of the Convention, which stipulates that every State Party must submit its reports of implementation under the Convention. This should include all relevant measures, be they legal, judicial, administrative, or other which have been put in place by the State Party in order to enforce the Convention. This report is the combined initial report and the second report, and has been prepared in accordance with the guidelines on the form and content of country reports to be submitted by States Parties as set by the Committee on the Elimination of Racial Discrimination. B. Process of report preparation 3. The preparation of this report involves a process of participation by the government sector, the private sector and the civil society. Such process of participation has been carried out in the form of a Committee and a Task Force under the responsibility of the Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, and through focus groups conducted with representatives of ethnic groups in the regions nationwide. The report preparation involves three steps: setting scope and guidelines for the initial data survey, preparing the report, and presenting the draft report to the public (see details in annex I). C. Initial explanation 4. This report is the combined initial report and the second periodic report, which were due to be submitted in February of 2004 and 2006 respectively. The report preparation was carried out during 2006–2007, based on the statistical data up to 31 December 2006, and other information on situations and circumstances up to the end of September 2007. However, since the report preparation was extended to 2008, developments of policy and legal framework that occurred during 2007–2008 have been included to make the information about the progress of Thailand’s implementation regarding the elimination of racial discrimination as complete as possible. The report preparation follows the United Nations Guidelines as outlined in these documents: HRI/GEN/2/Rev.3 (chap. 4) dated 8 May 2006, CERD/C/2007/1 dated 27 September 2007, and HRI/GEN/2/Rev.5 dated 29 May 2008. It also complies with the general comments, as laid down and endorsed by the Committee on the Elimination of Racial Discrimination. The content of the report consists of two parts: chapter II contains the data on Thailand’s demography and ethnic groups, chapter III is an analysis of Thailand’s existing laws, regulations and mechanisms, in order to comply with the core commandments of CERD under Articles 1–7, especially on the points set by the Committee on the Elimination of Racial Discrimination. 2 สวนที่ 1 ความนํา ก. การเขาเปนภาคี 1. ประเทศไทยลงนามในภาคยานุวัติสาร เขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุก รูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination – CERD) เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546 และอนุสัญญามีผลบังคับใชกับประเทศไทยตั้งแตวันที่ 27 กุมภาพันธ 2546 ทั้งนี้ ในการ เขาเปนภาคีของไทย ไทยไดจัดทําถอยแถลงตีความที่จะไมใชบทบัญญัติของอนุสัญญาเกินกวารัฐธรรมนูญและ กฎหมายไทย และมีขอ สงวน 2 ขอ คือ ขอ 4 และขอ 22 โดยขอ 4 การจัดใหมีมาตรการเชิงบวกที่จะขจัดการกระตุน การกระทําที่เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติจะกระทําเฉพาะเมื่อพิจารณาเห็นวามีความจําเปนที่จะตองออกเปนกฎหมาย เทานั้น และขอ 22 ไมรับผูกพันเกี่ยวกับการตกลงขอพิพาทระหวางรัฐภาคีที่จะเสนอตอการพิจารณาของศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ 2. รายงานของประเทศฉบับนี้ จัดทําตามพันธกรณีขอ 9 ของอนุสัญญา ซึ่งกําหนดใหรัฐภาคีตองเสนอรายงานการ ปฏิบัติตามอนุสัญญาเกี่ยวกับมาตรการตาง ๆ ทางดานกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม กระบวนการบริหารและอื่นๆ ซึ่งรัฐภาคีไดจัดใหมีขึ้นเพื่อบังคับใชอนุสัญญานี้ และเปนรายงานฉบับรวมของรายงานฉบับแรก (ป 2547) และฉบับที่ 2 (ป 2549) โดยการจัดทํารายงานดําเนินการตามแนวทางรูปแบบและเนื้อหาตามที่คณะกรรมการขจัดการเลือก ปฏิบัติขององคการสหประชาชาติกําหนดขึ้น ข. กระบวนการจัดทํารายงาน 3. การจัดทํารายงาน ดําเนินการดวยกระบวนการมีสวนรวมของภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชนในรูป คณะกรรมการและคณะทํางานในความรับผิดชอบของกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม และการ ประชุมกลุม ( focus group กับผูแทนกลุมชาติพันธุในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ โดยมีการดําเนินการ 3 ขั้นตอน คือ การวางกรอบแนวทางและศึกษาขอมูลเบื้องตน การจัดทํารายงานและการนําเสนอรางรายงานตอสาธารณชน (ดู รายละเอียดภาคผนวก 1) ค. คําชี้แจงเบื้องตน 4. รายงานฉบับนี้ เปนรายงานรวมของรายงานฉบับแรก ( initial report) กับการรายงานฉบับที่ 2 ( periodic report) ซึ่งตองเสนอในเดือนกุมภาพันธ 2547 และ 2549 ตามลําดับ การจัดทํารายงานดําเนินการในชวงป 2549-2550 จึง ใชขอมูลดานสถิติถึงสิ้นป 2549 และขอมูลเกี่ยวกับสถานการณตางๆ ถึงสิ้นเดือนกันยายน 2550 อยางไรก็ดี โดยที่ การจัดทํารายงานฉบับนี้ไดใชเวลาในการจัดทํามาจนถึงป 2551 จึงไดนําพัฒนาการในกรอบนโยบายและกฎหมายที่ เกิดขึ้นในชวงป 2550-2551 มาใสรวมไวดวย เพื่อใหขอมูลดานพัฒนาการความกาวหนาของไทยในเรื่องการขจัดการ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติมีความสมบูรณที่สุด ทั้งนี้ การจัดทํารายงานไดใชกรอบแนวทางขององคการสหประชาชาติ ตามเอกสาร HRI/GEN/2/Rev.3 (บทที่ 4) วันที่ 8 พฤษภาคม 2549 เอกสาร CERD/C/2007/1 วันที่ 27 กันยายน 2550 และเอกสาร HRI/GEN/2/Rev.5 วันที่ 29 พฤษภาคม 2551 ประกอบกับขอเสนอแนะทั่วไป ที่กําหนดและ รับรองโดยคณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ เนื้อหาของรายงานประกอบดวย 2 สวน แบงเปนขอมูล เกี่ยวกับประชากรและกลุมชาติพันธุของประเทศ และการวิเคราะหขอบัญญัติและกลไกตางๆ ที่ประเทศไทยมีอยูเพื่อ รองรับสวนที่เปนสาระบัญญัติ คือ ขอ 1-7 ของอนุสัญญาโดยเฉพาะในประเด็นที่คณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติ ทางเชื้อชาติกําหนดไว 3 5. To date, Thailand has not collected statistical population data that classify ethnic groups in the country’s census survey, and does not specify race on its citizens’ Identification cards. Therefore, there are no statistical data that classify races by age, group or gender. However, The National Statistics Office has taken interest and consideration in data classifications on particular issues that will benefit certain target groups, e.g. classification of problems encountered by children and youth, women, the disabled, the aging population. There are a number of academic institutions and non governmental organizations (NGOs) both at the national and local levels, which conduct data survey and collection, and manage knowledge on ethnicity in terms of identities, cultures, wisdom and rights of ethnic groups. To name a few, they are Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation), Chulalongkorn University Social Research Institute, Law Centre of Thammasat University, Centre for Research on Plurality in the Mekong Region of Khon Kaen University, Institute for Population and Social Research of Mahidol University, Hilltribes Research Institute, Hill Area and Community Development Foundation, Lawyers Council of Thailand, Union for Civil Liberty, Assembly of Tribes People of Thailand, Inter Mountain Peoples Education and Culture in Thailand Association, Association for Network Development of Community-Based Organisations, as well as networks of organizations of ethnic groups in different regions of Thailand. There are also some statistical data on the situations of ethnicity and rights violations in the monitoring reports of the National Human Rights Commission, the Parliamentary Ombudsperson, and some non-governmental organizations. Thailand sees the need to integrate all these data in order to maximize its efficiency in rights protection and to preserve the nation’s diversity of ethnicity. These tasks fall under the responsibility of the Department of Rights and Liberties Protection under the Ministry of Justice, established in 2002. II. Baseline data on demography, ethnic groups and alien population in Thailand A. Demographic situation, ethnic groups and alien population in Thailand 6. Thailand is situated in Southeast Asia, an area inhabited by a great diversity of people ethnically in the world. The population of Thailand comprises various ethnic groups for over 700 years in the area from the Chao Phraya River flat land delta up to the river’s origin on the high plateau of the Northeast (Esarn) and to the upper part of Malayu Strait. According to the research on Ethnolinguistic Maps of Thailand in 2005 to study the combination of ethnic groups of people in Southeast Asia according to their main language families, there are five main language families that belong to a total of 62 ethnic groups (shown in Table 1): 1 (1) Tai Language Family with 24 ethnic groups (2) Austroasiatic Language Family with 22 ethnic groups (3) Sino-Tibetan Language Family with 11 ethnic groups (4) Austronesian or Malayopolynesian Language Family with 3 ethnic groups (5) Hmong-Mien Language Family with 2 ethnic groups 7. With such great diversity of ethnic groups, it is difficult to clearly specify whether there is a nation in Southeast Asia which is constituted of a single ethnicity. It is more likely that the diverse ethnic groups of people in this area have co-existed for hundreds of years. 1 See Table 1. 4 5. ประเทศไทยไมมีการเก็บสถิติขอมูลประชากรโดยจําแนกกลุมชาติพันธุในการทําสํามะโนประชากรและไมมีการระบุ เชื้อชาติในบัตรประจําตัวประชาชน จึงยังไมมีขอมูลในเชิงสถิติที่มีการจําแนกเชื้อชาติโดยกลุมอายุหรือเพศ แต สํานักงานสถิติแหงชาติมีความสนใจและคํานึงถึงการจําแนกขอมูลในหัวขอที่จะเปนประโยชนตอกลุมเปาหมาย เชน การจําแนกปญหาที่เกิดกับกลุมเด็กและเยาวชนสตรี ผูพิการ ผูสูงอายุ สวนการศึกษาวิจัย สรางองคความรู และการ รวบรวมขอมูลเรื่องชาติพันธุทั้งในดานอัตลักษณวัฒนธรรมภูมิปญญาและสิทธิของกลุมชาติพันธุมีสถาบันวิชาการและ องคกรเอกชนทั้งในสวนกลางและทองถิ่นหลายแหลงดําเนินการเรื่องนี้ เชน ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการ มหาชน) สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศูนยนิติศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยวิจัยพหุลักษณ สังคมลุมน้ําโขง มหาวิทยาลัยขอนแกน สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยชาวเขา มูลนิธิ พัฒนาชุมชนและเขตภูเขา สภาทนายความ สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน สมัชชาชนเผาแหงประเทศไทย สมาคมศูนยรวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย สมาคมพัฒนาเครือขายองคกรชุมชน ตลอดจนเครือขายองคกรกลุมชาติพันธุของภูมิภาคตางๆ เปนตน รวมถึงมีขอมูลสถิติเกี่ยวกับสถานการณเรื่องชาติ พันธุกับการละเมิดสิทธิสวนหนึ่งอยูในการตรวจสอบติดตามของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการ แผนดินของรัฐสภาและองคกรเอกชนอีกจํานวนหนึ่งดวย ซึ่งประเทศไทยจะตองบูรณาการขอมูลเหลานี้เขาดวยกันเพื่อ ประโยชนในการคุมครองสิทธิและรักษาความหลากหลายทางชาติพันธุในชาติ โดยภารกิจนี้อยูในความรับผิดชอบของ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ซึ่งเปนหนวยราชการที่ตั้งขึ้นในป 2545 สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐานดานสภาวะประชากร กลุมชาติพันธุ และประชากรตางดาวในประเทศไทย ก. สถานการณดานประชากร กลุมชาติพันธุ และประชากรตางดาวในประเทศไทย 6. ประเทศไทยตั้งอยูในภูมิภาคเอเซียอาคเนยซึ่งเปนดินแดนที่มีคนชาติพันธุหลากหลายอยูอาศัยปะปนกันมากที่สุด แหงหนึ่งของโลก ประชากรของไทยประกอบดวยกลุมชาติพันธุตางๆ ที่ผสมผสานอยูรวมกันมานานกวา 700 ปใน บริเวณที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยาขึ้นไปจนถึงแหลงตนน้ํา บริเวณที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) และ บริเวณตอนบนของแหลมมลายู งานวิจัย แผนที่ภาษาของชาติพันธุตางๆ ในประเทศไทย พ.ศ. 2548 (Ethnolinguistic Maps of Thailand) ไดศึกษาความสัมพันธดานการรวมเชื้อสายกลุมชาติพันธุของคนในเอเซีย อาคเนยตามตระกูลภาษาหลัก และจัดกลุมได 5 ตระกูลภาษาหลัก รวม 62 กลุมชาติพันธุ คือ (ตารางที่ 1) 1) กลุมภาษาตระกูลไท (Tai) มี 24 กลุม 2) กลุมภาษาตระกูลออสโตรเอเซียติก (Austroasiatic) มี 22 กลุม 3) กลุมภาษาตระกูลจีน-ทิเบต (Sino-Tibetan) มี 11 กลุม 4) กลุมภาษาตระกูลออสโตรเนเซียนหรือมาลาโยโพลีเนเชียน (Austronesian or Malayopolynesian) มี 3 กลุม 5) กลุมภาษาตระกูลมง-เมี่ยน (Hmong-Mien) มี 2 กลุม 7. ดวยความหลากหลายของกลุมชาติพันธุที่ปรากฏ จึงเปนการยากที่จะระบุชัดเจนวาประชากรในภูมิภาคเอเซีย อาคเนยชาติหนึ่งชาติใดเปนชาติพันธุเดี่ยวแตนาจะไดมีการผสมผสานกันในระหวางชาติพันธุตางๆ มาแลวเปน เวลานานหลายรอยป 5 B. The population of Thailand 8. Thailand has a total population of 62.83 million (31.00 million male/ 31.83 female). Out of this, 22.73 million (36.18%) are urban population, and 40.10 million (63.83%) are rural population who are scattered in different regions of the country, shown as follows: (data as of 1 July 2008) Region Million people Percentage Northeast 21.25 33.3 Central (not including Bangkok) 14.91 23.7 North 11.75 18.7 South 8.32 13.2 Bangkok Metropolitan 6.60 10.5 9. Thailand’s population census is collected every ten years (the latest in 2000), while a survey on population change is carried out in the period between each population census (five years’ period) (the latest one in 2005–2006). There is no classification of population number by racial or ethnic group. As Thailand is a pluralistic society, with a good mix of races and cultures for a lengthy period of time in history, it has a wide diversity in terms of population and culture, making it difficult to specify any single ethnicity directly. It is estimated that 85% of Thailand’s population is of Thai ethnicity, which has intermingled with various ethnic groups throughout the years. The rest are other ethnic groups from the five language families and other races found living in Thailand, e.g. Japanese, Korean, Indian, Sikh, Arab, European, etc. and other alien population under Thailand’s care and responsibility. 10. The information to be presented in this report on Thailand’s implementation of the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination considers the population groups that may be at risk of losing their rights, having their rights neglected or their human rights violated, especially owing to racial causes. These are people who belong to different ethnic groups, a number of Thais, and alien population. According to the data gathered from the six focus groups organized to hear problems of ethnic groups in the five regions of Thailand in 2006, the situation of problems faced by these people can be classified into four main groups: (a) Ethnic Groups – consisting of The Highlands people, The “Chao Lay” or “Sea Gypsies”, the Malayu-descended Thais, and other ethnic groups; (b) Displaced Thais; (c) Persons overlooked by surveys (“Unsurveyed Persons”), Persons with Identification Status Problem, and Rootless Persons; (d) Alien Population – consisting of Displaced Persons of various ethnicities, Migrant Workers, and people who flee from fighting in neighbouring countries. 1) Ethnic groups 11. The Department of Provincial Administration, Ministry of Interior originally defined “minorities” (around 1999) as “probably groups of persons without Thai nationality, who are less in number than the original inhabitants of the country and have distinct cultures and traditions; have entered Thailand in different ways, i.e. as illegal immigrants, or granted temporary shelter.” The Department has kept personal history record and issued identification cards for these people, altogether in 18 groups. Later on (since 2005), the following definition was given: “Ethnic Group according to the definition in this Government Operations Handbook means people of other races or nationalities that live among other peoples who are larger in number. This may include groups of people without Thai nationality, who have their own distinct cultures and traditions and who have entered or lived in Thailand in different ways.” 6 ข. ประชากรของไทย 8. ประเทศไทยมีประชากร 62.83 ลานคน (ชาย 31.00/หญิง 31.83 ลานคน) เปนประชากรเขตเมือง 22.73 ลานคน (รอยละ 36.18) เขตชนบท 40.10 ลานคน (รอยละ 63.83) กระจายอยูตามภูมิภาคตางๆ ดังนี้ (ขอมูลเมื่อ 1 กรกฎาคม 2551) ภูมิภาค ลานคน รอยละ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21.25 33.3 ภาคกลาง (ไมรวม กทม.) 14.91 23.7 ภาคเหนือ 11.75 18.7 ภาคใต 8.32 13.2 กรุงเทพมหานคร 6.60 10.5 9. การทําสํามะโนประชากรของประเทศไทย ซึ่งจัดทําทุก 10 ป (ครั้งลาสุดคือ ป 2543) และการสํารวจการ เปลี่ยนแปลงของประชากร ในคาบเวลาระหวางการทําสํามะโนประชากรแตละครั้ง (ระยะ 5 ป) (ครั้งลาสุดคือ พ.ศ. 2548 - 2549) ไมมีการจําแนกจํานวนประชากรตามกลุมเชื้อชาติหรือชาติพันธุ ประกอบกับสังคมไทย เปนสังคมพหุลักษณ มีการผสมผสานเชื้อชาติและวัฒนธรรมมาแตเนิ่นนานในประวัติศาสตร จึงมีประชากรและ วัฒนธรรมที่หลากหลาย ยากแกการระบุชาติพันธุหนึ่งใดโดยตรง คาดประมาณวารอยละ 85 ของประชากร เปนคนชาติพันธุไทย ซึ่งผานการผสมผสานกันในหมูชาติพันธุตางๆ มาแลวมากมาย ที่เหลือเปนกลุมชาติพันธุ อื่นๆ จาก 5 ตระกูลภาษา นอกจากนั้นเปนเชื้อชาติอื่นๆ ที่พบวามีอาศัยอยูในประเทศไทย เชน ญี่ปุน เกาหลี อินเดีย ซิกส อาหรับ ยุโรป ฯลฯ และบุคคลตางดาวที่ประเทศไทยตองรับผิดชอบดูแลอยู 10. ขอมูลที่จะนําเสนอในรายงานการดําเนินงานตามอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติใน ทุกรูปแบบนี้ จึงพิจารณาถึงกลุมประชากรที่อยูในสภาวะที่อาจเสี่ยงตอปญหาการสูญเสียสิทธิ ถูกละเลยสิทธิ หรือถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะสาเหตุทางเชื้อชาติซึ่งมีทั้งกลุมชาติพันธุตางๆ คนไทยจํานวนหนึ่งและ คนตางดาวตามขอมูลที่รวบรวมได จากการประชุมกลุม ( focus group) เพื่อรับฟงปญหาของกลุมชาติพันธุใน 5 ภูมิภาค รวม 6 ครั้ง ในป 2549 สามารถประมวลสภาพปญหาของบุคคลเหลานี้ได 4 กลุมหลัก คือ 1) กลุมชาติพันธุ ประกอบดวย บุคคลบนพื้นที่สูง ชาวเล คนไทยเชื้อสายมลายู และกลุมชาติพันธุอื่นๆ 2) คนไทยพลัดถิ่น 3) บุคคลตกสํารวจ บุคคลที่มีปญหาสถานะบุคคล และบุคคลไรรากเหงา 4) ประชากรตางดาว ประกอบดวย ผูอพยพเชื้อชาติตางๆ แรงงานตางดาว และผูหนีภัยจากการสูรบ 1) กลุมชาติพันธุ/ ชนเผา 11. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ใหความหมายของชนกลุมนอยไวแตเดิม (ชวงป 2542) วา “นาจะ หมายถึง กลุมบุคคลที่มิไดสัญชาติไทย มีจํานวนนอยกวาเจาของประเทศ และมีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี แตกตางกันไป เขามาหรือพักอาศัยอยูในประเทศไทยโดยวิธีการหรือลักษณะที่ตางกัน เชน หลบหนี เขาเมืองเขามาพักอาศัยชั่วคราว” และไดจัดทําทะเบียนประวัติและบัตรประจําตัวไวรวม 18 กลุม และตอมา (ตั้งแตชวงป 2548) ใหความหมายของกลุมชาติพันธุไววา “กลุมชาติพันธุ ในความหมายของคูมือปฏิบัติราชการเลมนี้หมายถึง ชน ตางเผาหรือตางเชื้อชาติ ที่อาศัยรวมกันกับชนเผาอื่นที่มีจํานวนมาก ซึ่งอาจหมายรวมถึงกลุมบุคคลที่มิไดมี สัญชาติไทย และมีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีแตกตางกันไป เขามาหรือพักอาศัยอยูในประเทศไทย โดยวิธีการหรือลักษณะที่แตกตางกัน ” 7 12. By this latter definition, there are 17 minority groups: (1) Vietnamese Displaced Persons; (2)–(4) Chinese Displaced Persons in three sub-groups, namely ex-soldiers of the National Army, Haw or Yunnanese Chinese Displaced Persons and Independent Haw Chinese; (5) Ex Chinese Malayu Communist Militants, or Comrades for the Development of Thailand; (6) Thai Leu; (7) Laotian Displaced Persons; (8) Nepalese Displaced Persons; (9)–(11) Burmese Minority Groups in three sub-groups, namely Displaced Persons, Illegal Immigrants, Displaced Thai Descended Persons with Burmese nationality; (12) Persons on the Highlands; (13) Displaced Persons with Thai nationality from Koh Kong province of Cambodia; (14) Illegal Immigrants from Cambodia; (15) Tong Luang Race (Mlabri); (16) Communities on the Highlands; (17) Illegal Migrant Workers (of Burmese, Laotian, Cambodian nationalities). As for the 18th group — Illegal Immigrants from Burma/Myanmar — this has now been discarded from the definition adopted around 1999. Furthermore, the National Security Council has classified ethnic groups and illegal immigrants into three types (2004), the first type being the persons who fall under Thailand’s policy to grant permanent residence status, the second type are persons who are permitted to stay temporarily, and the last type are people whose status are being sorted out intensively. 13. With regard to the Research on Ethnolinguistic Maps of Thailand which was conducted during 1993–2001 and published in 2005, “ethnic group” is defined as follows: “Ethnic Group or sometimes referred to as “racial group” means a group of people with distinct history, language, culture, tradition or with common way of living, and most importantly, with a shared sense of belonging to the same group or race.” 14. This report classifies ethnicities in Thailand into four main groups by geographical characteristics of locality, way of living, culture and the condition of problems, as follows. (a) Persons on the Highlands (details in Table 2) 15. Persons on the highlands are the hill tribes and other groups of people that live on the highlands with the hill tribes. They are minority groups of people who settle in the forests on the highland area from the North down to the West of the country, covering 20 provinces, namely Chiang Rai, Chiang Mai, Mae Hong Son, Lamphun, Lampang, Phayao, Nan, Phrae, Loei, Sukhothai, Phitsanulok, Phetchabun, Tak, Kamphaeng Phet, Uthai Thani, Suphan Buri, Kanchanaburi, Ratchaburi, Petchaburi and Prachuap Khiri Khan (Department of Provincial Administration, 1999, already referenced). The Department of Social Development and Welfare, Ministry of Social Development and Human Security has started to collect data since 2002 and found that there are 10 ethnic groups of hill tribes, other minority groups, and Thais from the lowlands who live together as communities on the highlands. All these people amount to a total of 1.2 million population living in 3,881 villages. Among these are the 10 main ethnic groups of hill tribes, 3,429 groups of households, 923,257 persons or 186,413 families living in 164,637 households, broken down as follows: (1) 2 Karen 2 438,131 persons 153,955 persons (2) Hmong (Meo) (3) Mian (Yao) 45,571 persons (4) Akha (E-gaw) 68,653 persons (5) Lahu (Musur) 102,876 persons The name in brackets is the original name used by the Department of Provincial Administration. This was changed to a new name, according to what the ethnic people call themselves, by the Regulation of the Central Registration Office on Consideration of Recording Persons’ Identification Status in the Civil Registration for Persons on the Highlands, B.E. 2543 (2000). 8 12. จากคํานิยามขางตน สามารถจัดชนกลุมนอยได 17 กลุม ไดแก 1) ญวนอพยพ 2)-4) จีนอพยพ (3 กลุม คืออดีต ทหารจีนคณะชาติ จีนฮออพยพ และจีนฮออิสระ) 5) อดีตโจรจีนคอมมิวนิสตมลายาหรือผูรวมพัฒนาชาติไทย 6) ไทย ลื้อ 7) ลาวอพยพ 8) เนปาลอพยพ 9)-11) ชนกลุมนอยชาวพมา (3 กลุม คือ ผูพลัดถิ่น ผูหลบหนีเขาเมือง ผูพลัดถิ่น สัญชาติพมาเชื้อสายไทย) 12) บุคคลบนพื้นที่สูง 13) ผูอพยพเชื้อสายไทยจากจังหวัดเกาะกง กัมพูชา 14) ผูหลบหนี เขาเมืองจากกัมพูชา 15) เผาตองเหลือง (มลาบรี) 16) ชุมชนบนพื้นที่สูง 17) แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย (สัญชาติ พมา ลาว กัมพูชา) โดยตัดกลุมผูหลบหนีเขาเมืองจากพมาออกจากที่กําหนดไวเดิมในชวงป 2542 นอกจากนี้ สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ จัดกลุมชาติพันธุและผูหลบหนีเขาเมืองไว 3 ประเภท (2547) คือ ประเภทที่มี นโยบายกําหนดสถานภาพใหอาศัยอยูอยางถาวร ประเภทที่ใหอยูชั่วคราว และประเภทที่อยูระหวางเรงรัดแกไขปญหา 13. สําหรับงานวิจัย แผนที่ภาษาของชาติพันธุตางๆ ในประเทศไทย ซึ่งดําเนินการในชวงป 2536-2544 และตีพิมพใน ป 2548 ใหความหมาย กลุมชาติพันธุ ไววา “กลุมชาติพันธุ หรือบางครั้งเรียกวา กลุมชน หมายถึง กลุมคนที่มี ประวัติศาสตร ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี หรือแบบแผนการดําเนินชีวิตรวมกัน และประการสําคัญ มี สํานึกในความเปนกลุมหรือเผาพันธุเดียวกัน” 14. ในสวนของรายงานฉบับนี้จัดกลุมชาติพันธุในประเทศไทยเปน 4 กลุมใหญ ตามลักษณะถิ่นที่อยู วิถีชีวิตวัฒนธรรม และสภาพปญหาดังนี้ (ก) บุคคลบนพื้นที่สูง (รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 2) 15. บุคคลบนพื้นที่สูง คือชาวเขาและบุคคลกลุมอื่นๆ ที่อาศัยอยูในพื้นที่สูงรวมกับชาวเขา เปนชนกลุมนอยที่ตั้งถิ่น ฐานอยูบริเวณปาเขาซึ่งเปนที่สูงในเขตพื้นที่ทางดานทิศเหนือลงไปทางทิศตะวันตกของประเทศ 20 จังหวัด คือ เชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน ลําพูน ลําปาง พะเยา นาน แพร เลย สุโขทัย พิษณุโลก เพชรบูรณ ตาก กําแพงเพชร อุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ (กรมการปกครอง 2542 อางแลว) ซึ่งกรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดทําการเก็บขอมูลไวตั้งแตป พ.ศ. 2545 พบวามีชาวเขา 10 กลุมชาติพันธุ ชนกลุมนอยอื่นๆ และคนไทยพื้นราบอยูรวมกันเปนชุมชนบนพื้นที่สูงมีจํานวน ประชากรรวมประมาณ 1.2 ลานคน 3,881 หมูบาน (กลุมบาน) เปนกลุมชาวเขา 10 ชาติพันธุหลัก 3,429 กลุมบาน 164,637 หลังคาเรือน 186,413 ครอบครัว จํานวนประชากร 923,257 คน ดังนี้ 1) กะเหรี่ยง 438,131 คน 2) มง (แมว)2 153,955 คน 3) เมี่ยน (เยา) 45,571 คน 4) อาขา (อีกอ) 68,653 คน 5) ละหู (มูเซอ) 102,876 คน ชื่อในวงเล็บ เปนชื่อที่กรมการปกครองใชเรียกแตเดิม แตตอมาไดปรับเปลี่ยนชื่อเรียกใหมตามที่กลุมชาติพันธุใช เรียกตนเองโดยระเบียบสํานักทะเบียนกลางวาดวยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรใหแก บุคคลบนพื้นที่สูง พ.ศ. 2543 2 9 (6) Lisu (Liso) 38,299 persons (7) Sua 22,260 persons (8) Kamu 10,573 persons (9) Mlabri (Tongluang) 282 persons (10) Tin 42,657 persons 16. Other ethnic groups that live with the hill tribes are e.g. Paluang, Tongsu, Kachin, Thai-leu, Yunnanese Chinese, Tai Yai, Cambodian, Chinese, Mon, Burmese, Laotian, etc. These people who are scattered on the highlands are 67,172 persons in number, in 13,221 families and in 11,802 households. Besides, there is a group of Thais from the lowlands who make their living on the highlands. This group amounts to 212,720 persons, in 52,945 families, 50,257 households in 847 villages. 17. The majority of the hill tribes are of Chinese-Tibetan language family group, mixed with people of the Hmong-Mian language family group and the Austro-Asiatic group. The hill tribes are classified, by government terms, into two main groups: (a) Original hill tribes or “Mountain Thais” – are a group of Thais that are not recorded in the Civil Registration due to an oversight in the survey or out of survey reach because of their remote localities, obstructing them from access to the local authorities. The Regulation of the Central Registration Office B.E. 2535 (1992) and B.E. 2539 (1996) recorded the granting of Thai nationality to these Mountain Thais, while most of them had already been accorded with Thai nationality; (b) Outside hill tribes who immigrated from neighbouring countries e.g. Burma/Myanmar, Laos, China. The Cabinet Resolution of 13 October 1995 granted “alien” status to these people (holding blue ID cards). 18. The ethnic background of the majority hill tribes are the Sino-Tibetan language family group and the Austro-Asiatic. They worship animism, respect their ancestors, and adhere to traditional rites and way of living. Senior members of the community play major role in solving conflicts in the families and communities. Agriculture is their main occupation; they are in rice cultivation and grow substitute crops in the form of recycling fields and non-permanent fields. The ethnic hill tribes of Sino-Tibetan family group are Karen, Lahu, Lisu, Akha, combined with Kachin and Bisu. Some sources of information include Hmong and Mian in this language family group as well. “Chao Lay” 3 or “Sea Gypsies” (b) 19. Chao Lay as an ethnic group belongs to the Austronesian language family group. There are sub-groups to this, namely Mokan or Moken, Moglan and Uraklawoey. they live on the islands off the coastal provinces along the Andaman Sea, i.e. Ranong, Phang nga, Phuket, Krabi and Satun. This ethnic group has lived in Thailand for hundreds of years. There are approximately 1,700 families of them, or around 10,000 altogether in population. The Mokens are in Ranong, Phang nga and Phuket. The Moglans or New Thais are in Phangnga and Phuket. The Uraklawoey are in Phuket, Krabi and Satun. These Chao Lay settle their villages on lands without any title deeds. This is due to their traditional culture of non-attachment to land possession, and their belief that land and other resources like fish in the sea are not possessed by anyone, and everyone has the right to access and utilize them. At present, some groups of these Chao Lay have settled permanently on the islands in the provinces named above. 3 This term is no longer used. The preferred term is “Moken”. 10 6) ลีซู (ลีซอ) 38,299 คน 7) ลัวะ 22,260 คน 8) ขมุ 10,573 คน 9) มลาบรี (ตองเหลือง) 10) ถิ่น 282 คน 42,657 คน 16. ทั้งนี้กลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่อยูรวมกับชาวเขามี เชน ปะหลอง ตองสู คะฉิ่น ไทยลื้อ จีนฮอ ไทใหญ เขมร จีน มอญ พมา ลาว และอื่นๆ ที่กระจายตัวในพื้นที่สูงดวยรวม 11,802 หลังคาเรือน 13,221 ครอบครัว จํานวนประชากร 67,172 คน รวมทั้งกลุมคนไทยพื้นราบที่อาศัยทํากินบนพื้นที่สูง กระจายในพื้นที่อีก 847 กลุมบาน 50,257 หลังคา เรือน 52,945 ครอบครัว ประชากรจํานวน 212,720 คน 17. ชาวเขาสวนใหญเปนกลุมชาติพันธุในกลุมตระกูลภาษาจีน-ทิเบต และมีกลุมภาษามง-เมี่ยน และออสโตรเอเชียติ กรวมอยูดวย ทางราชการจัดกลุมชาวเขาเปน 2 กลุมหลักคือ 1) ชาวเขาดั้งเดิมหรือชาวไทยภูเขา เปนกลุมคนไทยที่แตเดิมไมมีหลักฐานทางทะเบียนราษฎร เนื่องจากตก สํารวจ หรือถิ่นที่อยูหางไกลทุรกันดารไมสามารถติดตอกับทางราชการได มีระเบียบสํานักทะเบียนกลาง พ.ศ. 2535 และ 2539 ใหลงรายการสัญชาติไทยใหแกชาวไทยภูเขา ซึ่งสวนใหญไดสัญชาติไทยแลว 2) ชาวเขานอก อพยพเขามาจากนอกประเทศ เชน พมา ลาว จีน มีมติคณะรัฐมนตรี 13 ตุลาคม 2538 ให สถานะคนตางดาว (ถือบัตรประจําตัวสีฟา) 18. กลุมชาติพันธุชาวเขา สวนใหญเปนตระกูลภาษาจีน-ทิเบต และออสโตรเอเชียติก นับถือผี ( animism) เคารพ บรรพบุรุษ ผูอาวุโส และจารีตตามวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมผูอาวุโส มีบทบาทเปนผูแกไขปญหาขอ พิพาทภายในครอบครัวและชุมชน ดํารงชีพดวยการกสิกรรมทําไรนา ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีทั้งไรหมุนเวียนและไรเลื่อน ลอย ชาวเขากลุมชาติพันธุตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ( Sino-Tibetan) มีกะเหรี่ยง ละหู ลีซู อาขา โดยมีคะฉิ่นและบิซู รวมอยูดวย บางแหลงขอมูลรวมมงและเมี่ยนไวในกลุมตระกูลภาษานี้ดวย ข) ชาวเล 19. ชาวเล เปนกลุมชาติพันธุในตระกูลภาษาออสโตรเนเชียน มีกลุมชาติพันธุยอยๆ คือ มอแกน/มอเก็น มอแกลน และอุรักละโวย มีถิ่นที่อยูตามเกาะตางๆ แถบจังหวัดชายฝงทะเลอันดามันคือ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และสตูล เปนกลุมชาติพันธุในประเทศที่อยูมานับรอยป มีจํานวนประมาณ 1,700 ครอบครัว ประชากรประมาณ 10,000 คน ประกอบดวย มอแกน (อยูในระนอง พังงา ภูเก็ต) มอแกลนหรือไทยใหม (พังงา ภูเก็ต) และอุรักละโวย (ภูเก็ต กระบี่ สตูล) ชาวเลตั้งหมูบานอยูโดยไมมีเอกสารสิทธิ เนื่องจากวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ไมยึดติดกับการครอบครองกรรมสิทธิ์ใน ที่ดิน และมีระบบคิดวา ทรัพยากรที่ดินและ สัตวน้ําในทะเล เปนสิ่งที่ไมมีใครเปนเจาของ ทุกคนสามารถเขาถึงและ ใชไดแตปจจุบันชาวเลบางกลุมไดตั้งหลักแหลงถาวรแลวตามเกาะตางๆ ในจังหวัดที่กลาวขางตน 11 20. Mokens. Their habitat is both on the land and in the sea. During the southwestern monsoon season, they build huts and stay on the shore, and during the northeastern monsoon season, they sail their fishing boats along the islands’ coasts, catching fish and other byproducts from the beach and the forests and doing some agriculture. The Mokens’ origin is from the Marid islands of Burma/Myanmar. A big cluster of them now live on Surin islands of Phangnga province in Thailand. After the tsunami disaster on 26 December 2004, people came to know more about the Mokens since they played a role in helping a number of people who were struck by the gigantic waves. They themselves, however, were also badly affected by the tsunami. Several Moken villages and their fishing boats were swept away by the waves, making them homeless and depriving them of their modus vivendi. Some volunteer organizations stepped in to help build new homes for them. But these homes are different from their typical ones, forcing their way of living to change. Many of them have become construction workers or daily-wage labourers. The government sector has taken interest in these people. The Department of Provincial Administration issued Identification Cards and Household Registration Books for 37 Mokens in March 2006. 21. Uraklawoey (some data call them Orang-laut) are an ethnic group that belongs to the same language family group as the Mokens, but they have their own language which is different from the Mokens’. They live close to the Mokens, but their habitat stretches further to the south toward Krabi and Satun provinces. Presently, the Uraklawoeys are settled permanently and live a normal life in the same manner as other Thais. Some groups of them worship Islam, and they do fishing as their main occupation. The Uraklawoey language is now spoken by around 3,000 people only. The language is thus regarded as at risk of decline and becoming obsolete. (c) Malayu-descended Thais 22. The ethnic groups in the lower south of Thailand (provinces of Yala, Pattani, Narathiwat, Satun and Songkhla) consist of Malayu-descended Thais, Buddhist Thais and other ethnic groups, e.g. Zagai. Generally, the Buddhist Thais and the Chinese live in the urban areas, while the Malayu-descended Thais live in all parts of the country, and outnumber the former groups in the rural areas. 23. The Malayu-descended Thais in the southern border provinces belong to the Austronesian language family group, worship Islamic religion and call themselves Malayu Muslims. Their population is around 1.4 million. They are the majority population in the area (80%). The rest are Buddhist Thais and Chinese (20%). Usually, the Malayu Muslims, the Buddhist Thais and the Chinese live in peaceful harmony, like brothers and sisters. They are interdependent, and exchange with one another in terms of culture and living necessities. (d) Other ethnic groups Ethnic Groups in the Northeast (Esan) 24. The Northeast or the Korat Plateau is the most populated region of Thailand, i.e. over 33% of the total population (approx. 21.3 million people). This area in the past was inhabited by pre-historic people and used to be the site of Ban Chiang civilization. It is also the origin of Jenla, an ancient kingdom. There are thus many old communities and a number of originally native ethnic groups, including several old ethnic groups. According to the data from the Ethnolinguistic Map, the majority of Esan population are of ethnic groups that belong to the Thai and Austro-Asiatic family groups (See Table 3). 25. Most of the research work on ethnic groups in Esan study about their way of living and social changes that affect them. The studies find that some ethnic groups have faced socio-cultural problems and the threat of losing their identity, and are at risk of decline and extinction. In other words, they have been deprived of their cultural right and right to a nationality. These rights fundamentally reflect the diversity, beauty, capital, force and strength of a society. 12 20. มอแกน มีวิถีชีวิตอยูทั้งบนบกและในทะเล คือในชวงมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะขึ้นมาสรางเพิงอยูบนบก และในชวง มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะออกเรือลัดเลาะไปตามชายฝงเกาะตางๆ หากินโดยทําประมง เก็บหาของชายฝง หาของ ปาและทํากสิกรรม ถิ่นที่อยูอาศัยเดิมคือบริเวณหมูเกาะมะริดของพมา ในประเทศไทยกลุมใหญอยูที่หมูเกาะสุรินทร พังงา หลังเกิดคลื่นยักษสึนามิเมื่อ 26 ธันวาคม 2547 มีคนรูจักชาวมอแกนมากขึ้นเพราะมีบทบาทชวยเหลือ ผูประสบภัยหลายรายแมตนเองก็ตองประสบภัยเชนกันโดยหมูบานมอแกนหลายแหงถูกคลื่นซัดเสียหายไปพรอมเรือที่ ใชประกอบอาชีพ ตองตกอยูในสภาพไรที่อยูและขาดอุปกรณทํากิน มีองคกรอาสาสมัครสรางบานใหมใหอยูอาศัยที่ ตางจากลักษณะเดิม ทําใหวิถีชีวิตตองเปลี่ยนไป หลายคนตองเปลี่ยนอาชีพกลายเปนกรรมกรกอสรางหรือแรงงาน รับจาง และภาครัฐเริ่มใหความสนใจโดยกรมการปกครองจัดทําบัตรประชาชนและทะเบียนบานใหประมาณ 37 คน เมื่อเดือนมีนาคม 2549 21. อุรักละโวย (บางขอมูลเรียกโอรังลาอุต orang - laut) เปนกลุมชาติพันธุในตระกูลภาษาเดียวกับมอแกนแตมี ภาษาของตนเองตางกับมอแกน มีถิ่นที่อยูบริเวณใกลเคียงกัน แตลงไปทางใตถึงกระบี่และสตูล ปจจุบันตั้งหลักแหลง ถาวรมีวิถีชีวิตเชนคนทั่วไป บางกลุมนับถือศาสนาอิสลามและยังประกอบอาชีพทําประมงแตภาษาอุรักละโวยมีผูพูด เพียงประมาณ 3,000 คน จัดวาเปนภาษาที่เสี่ยงตอการเสื่อมสลาย ค) คนไทยเชื้อสายมลายู 22. กลุมชาติพันธุในพื้นที่ภาคใตตอนลาง (จังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส สตูล และสงขลา) ประกอบดวย คนไทย เชื้อสายมลายู คนไทยพุทธ คนจีน และกลุมชาติพันธุอื่น เชน ซาไก โดยทั่วไปคนไทยพุทธและคนจีนจะอยูในเขตเมือง ขณะที่คนไทยเชื้อสายมลายูจะอยูทั่วไปในพื้นที่และมีจํานวนมากกวาในเขตชนบท 23. คนไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตเปนกลุมชาติพันธุตระกูลภาษาออสโตรเนเชียนนับถือศาสนา อิสลาม เรียกตัวเองวามลายูมุสลิม มีจํานวนประมาณ 1.4 ลานคนเปนชนกลุมใหญในพื้นที่ (รอยละ 80) ที่เหลือเปน คนไทยพุทธและคนจีน (รอยละ 20) โดยปรกติคนไทยมลายูมุสลิมคนไทยพุทธ และคนจีนอยูกันอยางปกติสุขเหมือน ญาติพี่นอง มีการพึ่งพาแลกเปลี่ยนกันทั้งดานวัฒนธรรมและปจจัยดํารงชีพ ง) กลุมชาติพันธุอื่น ๆ กลุมชาติพันธุในอีสาน 24. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) หรือที่ราบสูงโคราชมีประชากรอาศัยอยูมากที่สุดในประเทศไทย คือกวารอยละ 33 (ประมาณ 21.3 ลานคน) ในอดีตดินแดนแถบนี้เปนแหลงตั้งถิ่นฐานของคนยุคกอนประวัติศาสตรและอารยธรรม บานเชียง มีชุมชนเกาแกและชนพื้นเมืองดั้งเดิมอยูหลายเผาพันธุและเปนตนกําเนิดของอาณาจักรเกาแกคือเจนละ จึง มีกลุมชาติพันธุเกาแกอยูหลายกลุม แผนที่ภาษา ใหขอมูลวา ประชากรสวนใหญของอีสานเปนกลุมชาติพันธุในภาษา ตระกูลไท และภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก (ตารางที่ 3) 25. งานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุในอีสาน สวนใหญเปนงานที่ศึกษาถึงวิถีชีวิตความเปนอยู และการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ที่ไดพบวา บางเผาพันธุตองประสบปญหาดานสังคมวัฒนธรรมและอัตลักษณที่ตองเสี่ยงตอการ เสื่อมสลาย ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการถูกละเลยสิทธิทางวัฒนธรรม และเชื้อชาติ อันเปนความหลากหลาย ความงดงาม ทุนและพลังความเขมแข็งในสังคม 13 26. Even though there are diverse ethnic groups in the Esan region, the conclusion from the focus group held on 14 September 2006 in Khon Kaen province states that despite the large number and diversity of ethnic groups that exist in Esan, due to the generosity and kind-heartedness of the Esan people in general, as well as their experience of interrelating with people of diverse ethnicities, the Esan people of different ethnic groups mingle well and always welcome people from other places. This background is like a special force that unites them and creates a drive for them to relate more with people in the other regions. All the ethnic groups live together with mutual respect. However, there may be some problems concerning cultural rights, the problems are not serious. All other ethnic groups both in Esan and other regions are facing a common threat to their cultures and languages declining. Several ethnic groups have gradually lost their identities and cultures unknowingly, due to the modern lifestyle. To name a few, the Kui/Kuay, Yogun, and other ethnicities such as Bru are nowadays almost unknown. In an attempt to preserve these ethnic cultures, certain groups of academics have set up museums of the ethnic groups that are at risk of declining and becoming extinct. 2. Displaced Thais 27. There are a number of Thais who have to bear the consequence of colonialism. When the border demarcation was carried out to turn part of Thailand’s border frontiers into that of its neighbouring countries under western colonization, namely Burma/Myanmar, Cambodia, Laos and Malaysia, the Thais who lived on the transferred pieces of land could no longer maintain their Thai nationality, even though they were born from parents who had Thai nationality. This is the legal consequence of territorial alteration. These Thais then called themselves “displaced Thais”. There are two groups of them: (a) Persons who live in the foreign land that used to belong to Thailand; (b) Persons who immigrated into Thailand after the land transfer, some immediately after and some subsequently , due to unrest situations in those respective countries. The latter group is the one which has been faced with problems concerning their status and nationality. These displaced Thais are both Buddhists and Muslims combined, as described below. 28. Thai-descended Displaced Persons with Burmese Nationality are Thais who live around Thawai, Marid, Tanaosri, which used to belong to Thailand before the border demarcation to transfer those lands to Burma/ Myanmar under occupation of Britain at the time. Burma/Myanmar inherited the lands when it gained independence. The uncertainties and difficulties in Burma/Myanmar, whether they be political and economic problems, as well as unrest by minority groups, prompted these displaced Thais to return to Thailand. Around 8,000 of them came back to settle in the western and upper southern border areas of Thailand (Tak, Prachuap Khiri Khan, Chumphon, Ranong). By Cabinet Resolution of November 27, B.E.2540 (1997), the Royal Thai Government has a policy to convert the nationality of these people to Thai. (They used to hold yellow ID cards with dark blue rims.) 29. Thai-descended Displaced Persons from Koh Kong, Cambodia are Thais who live or work in Koh Kong, which is the land that Thailand lost to France during its occupation of Cambodia. This group will also include Thai-descended Displaced Persons from Siem Reap, Phratabong and Srisopon. When Cambodia gained its independence and underwent a major political change in 1974, more than 10,000 of these Thais gradually took refuge into Thailand, to settle in Trat province. There are not less than five Cabinet Resolutions from 1980 (5 February), 1983, 1984, 1991 to 2004 (3 August) that granted approval for these persons to convert to Thai nationality, including allowing their children who are born in Thailand to have Thai nationality. However, there are still some of these people, holding green ID cards, for whom the authorities cannot prove their identification status. 14 26. กลุมชาติพันธุตางๆ ในภาคอีสานแมจะมีหลากหลาย แตมีผลการประชุมกลุม ( focus group) เมื่อ 14 กันยายน 2549 ณ จังหวัดขอนแกน สรุปวาถึงแมภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีกลุมชาติพันธุจํานวนมากและหลากหลาย แต เนื่องจากชาวอีสานเปนคนโอบออมอารีมีจิตใจกวางขวาง ไมเกียจกันคนตางถิ่น มีประสบการณในความสัมพันธ ระหวางกลุมเชื้อชาติที่หลากหลายทําใหเกิดพลังในการรวมตัวและเกี่ยวของกับคนในภาคอื่นๆ มากขึ้น ชาติพันธุตางๆ สามารถอยูรวมกันอยางสมัครสมานกลมเกลียวแมจะมีคนมุสลิมก็มิไดมีความรูสึกแปลกแยก ปญหาการละเมิดสิทธิ ดานชาติพันธุที่มีอยูบางจึงมิไดอยูในขั้นรุนแรง อยางไรก็ตาม กลุมชาติพันธุอื่นๆ ทั้งในภาคอีสานและภาคอื่นก็ตอง ประสบปญหาดานวัฒนธรรมและภาษาที่กําลังเสื่อมสลาย หลายกลุมชาติพันธุตองสูญเสียอัตลักษณและวัฒนธรรมไป ทีละนอยโดยไมรูตัวเนื่องจากวิถีชีวิตสมัยใหม เชน กุย/กวย ญัฮกุร และบางชาติพันธุ เชน บรู ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุที่ เกือบจะไมเปนที่รูจักแลว จึงมีนักวิชาการบางกลุมพยายามอนุรักษวัฒนธรรมโดยตั้งพิพิธภัณฑของกลุมชาติพันธุที่ เสี่ยงตอการสูญสลายเหลานี้ 2. คนไทยพลัดถิ่น 27. มีคนไทยจํานวนหนึ่งที่ตองรับผลสืบเนื่องจากลัทธิอาณานิคมโดยประสบปญหาเสียสัญชาติไทยเมื่อมีการปกปน เขตแดนไทยไปเปนของประเทศเพื่อนบานที่ถูกยึดครองเปนอาณานิคมของประเทศตะวันตก ไดแก คนไทยที่อาศัยอยู ในดินแดนไทยที่ถูกปกปนไปเปนของพมา กัมพูชา ลาวและมาเลเซีย บุคคลเหลานี้ สืบสันดานจากบุพการีที่มีเชื้อสาย ไทยแตไมไดสัญชาติไทยโดยผลของกฎหมายอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศและเรียกตนเองวา “คนไทยถิ่นพลัด ” จําแนกได 2 กลุม คือ (1) พวกที่ยังอาศัยอยูในดินแดนของรัฐตางประเทศที่เคยเปนของประเทศ ไทย และ (2) พวกที่อพยพเขามาอาศัยในประเทศไทยแลวหลังการเสียดินแดน ซึ่งมีทั้งอพยพเขามาทันทีและอพยพ กลับเขามาภายหลังเพราะปญหาความไมสงบในรัฐตางประเทศนั้น ซึ่งพวกหลังนี้คือกลุมที่ตองประสบปญหาคนไทย เหลานี้มีทั้งคนพุทธและมุสลิม ไดแก 28. ผูพลัดถิ่นสัญชาติพมาเชื้อสายไทย เปนคนไทยที่อาศัยอยูแถบทะวาย มะริด ตะนาวศรีซึ่งเคยเปนดินแดนไทยที่ถูก ปกปนไปเปนของพมาสมัยที่อังกฤษครอบครองและตองติดไปกับดินแดน เมื่อพมาไดเอกราช มีปญหาทางการเมือง เศรษฐกิจ และการปราบปรามชนกลุมนอย ทําใหคนไทยเหลานี้ตองกลับประเทศไทย เขามาอยูในพื้นที่ชายแดน ตะวันตกและภาคใตตอนบน (ตาก ประจวบคีรีขันธ ชุมพร ระนอง) จํานวนประมาณ 8,000 คน โดยมติคณะรัฐมนตรี 27 พฤษภาคม 2540 รัฐบาลมีนโยบายใหแปลงสัญชาติเปนไทย (เดิมถือบัตรประจําตัวสีเหลืองขอบน้ําเงิน) 29. ผูอพยพเชื้อสายไทยจากเกาะกง กัมพูชา เปนคนไทยที่อาศัยอยู หรือไปประกอบอาชีพที่เกาะกง ดินแดนไทยที่เสีย ใหกับฝรั่งเศสในสมัยที่ฝรั่งเศสปกครองกัมพูชา รวมถึงผูอพยพจากเสียมราฐ พระตะบอง และศรีโสภณ เมื่อกัมพูชาได เอกราชและเปลี่ยนแปลงการปกครองในป 2517 คนไทยเหลานี้จํานวนกวา 10 ,000 คนทะยอยอพยพเขามาอยูที่ จังหวัดตราด และมีมติคณะรัฐมนตรีไมนอยกวา 5 ครั้งตั้งแตป 2523 (5 กุมภาพันธ) 2526 2527 2534 และ 2547 (3 สิงหาคม) อนุมัติใหบุคคลเหลานี้แปลงสัญชาติเปนไทย รวมถึงอนุมัติใหบุตรหลานที่เกิดในประเทศไทยไดรับสัญชาติ ไทยดวยแตยังมีบางสวนไมสามารถพิสูจนสถานะได (ถือบัตรประจําตัวสีเขียว) 15 30. Furthermore, there are also Buddhist Thai Displaced Persons from Kalantan State of Malaysia, and Thai Displaced Persons from Laos, who face problems common to those Thai-descended Displaced Persons from Burma/Myanmar and from Koh Kong. But these Buddhist Thais already have Thai nationality. And, there are the “Lao Phukhao” people who used to live in the northern and northeastern border provinces of Thailand (Chiang Rai, Phayao, Nan, Uttaradit, Loei, Nong Khai, Nakhon Phanom, Mukdahan and Ubon Ratchathani), and used to flee the suppression by the Communist rebels into Laos. This group of people, approximately 2,000 of them in number, when they returned to Thailand, became illegal immigrants and lost their persona grata status. But the Cabinet Resolution of 24 December 1991 gave approval to convert their nationality to Thai. 3. Unsurveyed persons, persons with status problems, rootless persons (a) Unsurveyed persons include both the group of people who originally lived in Thailand and those who sought shelter from outside the country 31. The group of persons who originally lived in Thailand but were not covered by the official survey, resulting in their illegitimate status. These persons can generally be found in big cities as well as in remote rural areas. A number of them are hill tribe people (around 300,000 persons). So far, there has been some progress in the government’s attempt to solve the problem for these people, one concrete action being to record their Thai nationality in their household registration books. The Department of Provincial Administration currently sets a target of 90,739 persons to achieve in terms of status identification for this group of people. So far, the status of 73,133 persons have been identified, with the remaining 17,606 persons, pending the ongoing process of investigation and status proof. 32. The group of persons who sought shelter from outside Thailand, but have resided in the country for a long time or has been helpful to the authorities, have finally been granted with permanent residence status by the government. For example, the Vietnamese displaced persons, the former National Chinese Army soldiers now hold the status of legitimate alien immigrants, and their children born in Thailand will be granted Thai nationality. The group of persons who are Thai descendents will have their nationalities converted to Thai. This group amounts to about 180,000 persons, 53,000 of them have had their status identified. 4 The remaining 120,000 persons are in the process of filing their requests for status identification according to the official set guidelines. (b) Persons with a status problem due to various reasons, stated as follows 33. The group of persons who have sought shelter from outside Thailand and still cannot return to their countries of origin. This group comprises people from neighbouring countries. Among them are certain groups of Thai descendents who refused to return to their countries of origin, due to various reasons, e.g. insecurity, unsafe situation, or the country of origin denied their return. As for these Thai descendents who remain in Thailand, a number of them have lived in Thailand for so long that they have harmonized well into the Thai society. The authorities have conducted a survey and arranged registration under ‘controlled’ and ‘exempted’ categories to legitimize their temporary stay on humanitarian ground. There are around 360,000 persons in this group; most of them still do not have a clear status. 34. Another group of persons with a status problem are those who are studying at different levels in academic institutions in Thailand, both government and private ones. These people may face obstacles in enjoying their basic rights after they graduate. It is estimated that there are approximately 60,000 persons under this category. The Ministry of Education has already issued regulations to address this problem since 2005. 4 Data as of 2008. 16 30. นอกจากนี้ยังมีผูอพยพคนไทยพุทธจากรัฐกลันตันของมาเลเซีย และคนไทยอพยพจากลาวที่ประสบปญหาลักษณะ เดียวกับคนเชื้อสายไทยจากพมาและจากเกาะกง แตบุคคลเหลานี้ไดสัญชาติไทยแลว รวมทั้งยังมีผูอพยพชาวลาวภูเขา ที่เคยอาศัยอยูในจังหวัดชายแดนภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (เชียงราย พะเยา นาน อุตรดิตถ เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอุบลราชธานี)ซึ่งเปนบุคคลที่เคยอพยพหนีการปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิสตไปอยูใน ประเทศลาว มีจํานวนประมาณกวา 2,000 คน เมื่ออพยพกลับประเทศไทยกลายเปนผูเขาเมืองผิดกฎหมายไรสถานะ บุคคลแตมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 24 ธันวาคม 2534 อนุมัติใหแปลงสัญชาติไทยแลว 3) บุคคลตกสํารวจ บุคคลที่มีปญหาสถานะ และบุคคลไรรากเหงา ก) บุคคลตกสํารวจมีทั้งกลุมที่อาศัยอยูดั้งเดิมในประเทศไทย และอพยพมาจากนอกประเทศไดแก 31. กลุมบุคคลที่อาศัยอยูดั้งเดิมในประเทศไทยแตตกสํารวจจากทางราชการ ทําใหไมมีสถานะที่ถูกตองตามกฎหมาย มีอยูทั่วไปทั้งในเมืองใหญและในชนบทหางไกลจํานวนหนึ่งเปนชาวเขา ( ประมาณ 300,000 คน) ที่ผานมาไดมีการ แกไขปญหาระดับหนึ่ง โดยการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบาน ปจจุบันกรมการปกครองกําหนดกลุมเปาหมาย จะดําเนินการไวประมาณ 90,739 คน ดําเนินการกําหนดสถานะไปแลว 73,133 คน คงเหลือที่เปนปญหาอีก 17,606 คน ซึ่งอยูระหวางกระบวนการพิสูจนทราบสถานะ 32. กลุมบุคคลที่อพยพมาจากนอกประเทศแตอาศัยอยูมานานหรือทําประโยชนแกทางราชการซึ่งสุดทายทางราชการ ยินยอมกําหนดสถานะใหอยูในประเทศไทยอยางถาวร เชน ชาวเวียดนามอพยพ อดีตทหารจีนคณะชาติ ไดรับสถานะ เปนบุคคลตางดาวเขาเมืองโดยชอบดวยกฎหมายซึ่งบุตรที่เกิดในประเทศไทยจะไดรับสัญชาติไทย กลุมที่มีเชื้อสายไทย จะไดรับการแปลงสัญชาติเปนไทย คนกลุมนี้มีจํานวนรวมประมาณ 180,000 คน ไดรับสถานะไปแลว 53,000 คน4 คงเหลือกลุมที่อยูระหวางการยื่นคํารองขอสถานะตามแนวทางที่ทางราชการกําหนดจํานวนประมาณ 120,000 คน ข) บุคคลที่มีปญหาสถานะบุคคลเนื่องจากสาเหตุตางๆ ไดแก 33. กลุมบุคคลที่อพยพมาจากนอกประเทศและยังไมสามารถเดินทางกลับประเทศตนทางได ประกอบดวยกลุมคน จากประเทศเพื่อนบาน โดยบางกลุมมีเชื้อสายไทยสาเหตุที่ไมยอมเดินทางกลับประเทศตนทาง เนื่องจากเหตุผลตางๆ อาทิ ความไมปลอดภัย ประเทศตนทางไมยอมรับ สวนหนึ่งอาจอาศัยอยูมานานจนกลมกลืนกับสังคมไทย สวนหนึ่ง ทางราชการไดมีการสํารวจและจัดทะเบียนควบคุมและผอนผันใหอยูชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรมจํานวนประมาณ 360,000 คน สวนใหญยังไมมีสถานะที่ชัดเจน 34. กลุมบุคคลที่มีปญหาสถานะและกําลังศึกษาอยูในสถานศึกษาของประเทศไทยในระดับตางๆ ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน และอาจจะประสบปญหาในเรื่องการไดรับสิทธิขั้นพื้นฐานตางๆ ภายหลังสําเร็จการศึกษา คาดวาจะมี จํานวนประมาณ 60,000 คน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไดออกระเบียบแกไขปญหาเรื่องนี้แลวตั้งแตป 2548 4 ขอมูล ณ ป 2551 17 (c) 4. (a) Rootless persons 35. These people are a group of persons whose origins cannot be identified or without any clear connecting point; they are not accepted by any countries of origin. No action has been taken to identify the status of these people, especially those without parents or ancestors, or have been abandoned since childhood, making it impossible to trace their families. It is not possible to specify the number of such group of persons as the Northeastern Displaced Thais who migrated from their place of birth to work in other regions and lost their personal identification record and proof. They were not covered by the population census survey and finally became rootless persons. Samples of these persons includes the displaced northeasterners affected by the tsunami, whose parents migrated from the place of birth to the south to work as labour in the mining or fishing industries and did not have any personal identification proof. The next of kin to these persons then became rootless persons. Alien population Displaced persons from neighbouring countries granted with “permanent residence” status 36. There was an influx of many hundreds of thousands of displaced persons from the neighbouring countries into Thailand during 1945–1976 to find better lives due to economic and political reasons. In the first stage, the Royal Thai Government made a survey to keep personal history record of these people and issued ID cards for them and let them stay in the designated places for humanitarian reasons. Later on, the government had a policy to identify status of these people to grant them with permanent residence status (some are still under consideration for status provision). The reason is because most of these Displaced Persons have lived in the country for many years and have made significant contributions to the country. For example, the former National Chinese Army soldiers, independent Chinese Haws, Burmese displaced persons who have entered Thailand before 9 March 2008, the Nepalese, Vietnamese and Laotian Displaced Persons whose personal history have been recorded and issued with ID cards, etc. (b) Illegal immigrants exempted to stay temporarily 37. Illegal Migrant Workers of three nationalities (Burmese, Laotian and Cambodian). This group of people entered Thailand to work, mostly taking up low-level jobs that Thai people would not do. Their number has tended to be on the rise since 1992. Up to present, their number is estimated at over one million persons. Addressing this issue, the Royal Thai Government has had policy to bring these illegal migrant workers into a legal employment system. They have been given opportunity to report and register with the authorities, in order to prove their nationalities. This undertaking is a cooperation between the Royal Thai Government and its neighbouring countries, and is still in progress. 38. Displaced persons fleeing from fighting from Burma/Myanmar. The Royal Thai Government has taken care of this group of people based on humanitarian principles. Nine designated temporary shelters have been set up to cater to their needs, while they await their repatriation or transfer to third countries. (c) Other illegal immigrants to be repatriated under Thailand’s Immigration Act 39. These are the Rohingyas who sought shelter from Burma/Myanmar, the Laotian Hmongs in Petchabun province, and the illegal immigrants from the Democratic People’s Republic of Korea (DPRK). 40. The alien population under 4 (b) and 4 (c) have the status of illegal immigrants under control and bound by treatment in accordance with Thailand’s Immigration Act. Their legal rights are limited to a certain level, but not in violation of the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination. All operations are in principle based on the differentiation between persons with legal status and persons with illegal status, thus not a discrimination in the form of racial discrimination. 18 ค) บุคคลไรรากเหงา 35. บุคคลเหลานี้เปนกลุมคนที่ไมสามารถระบุที่มาหรือไมมีจุดเกาะเกี่ยวที่ชัดเจน ไมมีประเทศตนทางใดยอมรับ รวมทั้งไมไดมีการกําหนดสถานะใดๆ ใหแกคนกลุมนี้อยางชัดเจนโดยเฉพาะกลุมคนที่ขาดบุพการี หรือถูกบุพการี ทอดทิ้งตั้งแตวัยเยาว จนไมสามารถติดตามสืบคนได บุคคลเหลานี้ไมสามารถระบุจํานวนไดชัดเจน เชน คนไทยอีสาน พลัดถิ่น ซึ่งโยกยายจากถิ่นกําเนิดไปทํางานตางภูมิภาค และสูญเสียหลักฐานแสดงตัวบุคคล จึงตกสํารวจและ กลายเปนคนไรรากเหงาในที่สุด ที่พบคือคนอีสานพลัดถิ่นที่ประสบภัยสึนามิและที่บุพการีโยกยายจากถิ่นกําเนิดไป ทํางานเหมืองแรหรือประมงในภาคใตตั้งแตรุนบิดามารดาและไมไดแสดงหลักฐานบุคคล ถึงชั้นลูกหลานจึงตอง กลายเปนบุคคลไรรากเหงา 4. ประชากรตางดาว ก) ผูอพยพเขาเมืองจากประเทศเพื่อนบาน ซึ่งไดรับสถานะใหอาศัยอยูในประเทศไทยอยางถาวร 36. สืบเนื่องมาจากในชวงป 2488 - 2519 มีกลุมคนจากประเทศเพื่อนบานจํานวนหลายแสนคน อพยพเขาสูประเทศ ไทยดวยเหตุผลทั้งทางดานเศรษฐกิจและการเมือง เพื่อแสวงหาโอกาสชีวิตที่ดีกวา โดยในระยะแรกรัฐบาลไดสํารวจ จัดทําทะเบียนประวัติและออกบัตรประจําตัวใหถือไวเพื่อควบคุมใหอยูอาศัยในพื้นที่ที่กําหนดอยูภายใตหลัก มนุษยธรรม ตอมาภายหลังรัฐบาลไทยไดมีนโยบายกําหนดสถานะใหคนกลุมนี้อาศัยอยูถาวร (บางสวนอยูระหวางการ พิจารณาดําเนินการ) เนื่องจากอาศัยอยูในประเทศเปนเวลานานและทําคุณประโยชนใหแกประเทศที่สําคัญ อาทิ กลุม อดีตทหารจีนคณะชาติจีนฮออิสระ ผูพลัดถิ่นสัญชาติพมาที่อพยพเขามากอน 9 มีนาคม 2551 เนปาลอพยพ ชาว เวียดนามอพยพ ชาวลาวอพยพที่ไดรับการจัดทําทะเบียนประวัติและบัตร เปนตน ข) ผูหลบหนีเขาเมืองที่ไดรับการผอนผันใหอาศัยอยูชั่วคราว 37. แรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง 3 สัญชาติ (พมา ลาว และกัมพูชา) คนกลุมนี้อพยพเขามามากในประเทศไทย เพื่อทํางาน โดยเฉพาะงานในระดับลางซึ่งคนไทยไมทํา ทั้งนี้คนเหลานี้เริ่มมีแนวโนมมากขึ้น ตั้งแตป 2535 เปนตนมา จนถึงปจจุบันคาดวามีจํานวนไมต่ํากวา1 ลานคน ทั้งนี้ รัฐบาลมีนโยบายที่จะนําแรงงานลักลอบดังกลาวเขาสูระบบการ จางงานที่ถูกตองตามกฎหมาย โดยเปดโอกาสใหแรงงานลักลอบมารายงานตัว จดทะเบียนเขาสูระบบการพิสูจน สัญชาติภายใตการรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการ 38. ผูหนีภัยการสูรบจากพมา รัฐบาลไดดูแลคนกลุมนี้ตามหลักมนุษยธรรมโดยกําหนดใหอาศัยอยูในพื้นที่พักพิง ชั่วคราว 9 แหง เพื่อรอการสงกลับหรือสงไปประเทศที่สาม ค) ผูหลบหนีเขาเมืองอื่น ๆ ซึ่งตองดําเนินการสงกลับตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง 39. ชาวโรฮิงยาที่อพยพมาจากประเทศพมา ชาวมงลาวอพยพที่ จ.เพชรบูรณ และผูหลบหนีเขาเมืองชาวเกาหลีเหนือ 40. ประชากรตางดาว ขอ 4.2 และ 4.3 มีสถานะเปนผูหลบหนีเขาเมืองอยูภายใตการควบคุมและการปฏิบัติให เปนไปตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองของประเทศไทย ซึ่งจะถูกจํากัดสิทธิตามกฎหมายในระดับหนึ่ง โดยมิไดขัดตอ อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ทั้งนี้ การดําเนินการอยูบนพื้นฐานความแตกตาง ระหวางบุคคลที่มีสถานะที่ถูกตองตามกฎหมายกับบุคคลที่มีสถานะไมถูกตองตามกฎหมาย จึงมิใชการเลือกปฏิบัติใน ลักษณะการเลือกปฎิบัติทางเชื้อชาติ 19 III. Analysis of implementation under the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination Article 1 Definition of racial discrimination in Thai domestic laws 41. Despite the fact that Thailand has no laws that respond directly to the Convention’s articles on racial discrimination, there are existing social, political and public administration infrastructures which are conducive to its compliance with the Convention. Socially, Thailand is a mixed society, with no division nor discrimination on the basis of race, ethnicity or religion. None of its existing laws is indicative of racial division or rights limitation towards any group of citizens to the extent of causing violent racial conflict. Moreover, the country’s political structure under the Constitutional Monarchy has a number of mechanisms and measures with regard the three columns of power, namely the Legislation, the Judicial and the Administration, as well as other relevant measures, which are conducive to racial harmony of its citizens. It is also noteworthy that the Constitution of Kingdom of Thailand B.E. 2540 (1997) and the Constitution of B.E. 2550 (2007) both contain articles on the protection of human dignity, rights and liberties: (Section 4) on equality of protection for every citizen, male and female, regardless of origin of birth, gender, religion; (Section 5) on prohibition of unfair discrimination against any person for reasons of differences in birth origin, race, language, gender, age, physical condition or health, individual status, economic or social status, religious belief, educational background, or political opinion that does not violate the Constitution. Both Constitutions have provisions on special measures, stating that, “… the measures set by the Government to eliminate obstacles or to enable a person to exercise one’s rights and liberties equally with others are not regarded as an unfair discrimination practice …” (Section 30), which corresponds with article 1, paragraph 4 and article 2, paragraph 2 of the Convention. 42. Many sections including the part entitled Fundamental State Policy Direction of the Constitution (Part 5, Sections 71–89) support the principle of elimination of racial discrimination, e.g. the State has to support and protect Buddhism and other religions, enhance good understanding and unity among believers of all religions, promote friendly relations with other nations in the international community, withholding the principle of equal treatment. 43. Apart from the Constitution Law, Thailand has also enacted a number of laws and regulations that aim to eliminate racial discrimination. To name a few, The Human Trafficking Prevention and Suppression Act of B.E. 2551 (2008) sets harsher punishment on the traffickers, and the victims of human trafficking can demand compensation for damage and will be provided with shelter and better assistance including rehabilitation, regardless of nationality. The Act also stipulates exemption for the non-Thai trafficking victims to stay in Thailand temporarily and permission for them to work legitimately for a temporary period, for humanitarian reasons. Further, in the case of foreign victims of trafficking who claim to have permission to reside in Thailand, Thai officials will take due action to bring them back into Thailand without delay if they are able to prove their residential status. The Citizens’ Registration Act (Amendment 2) of B.E. 2551 (2008) specifies that the Registrar has to admit every birth announcement and issue birth certificates to all children born in Thailand regardless of nationality, whether Thai or nonThai, under the law on nationality regarding legitimacy of birth. This will ensure that every child born in Thailand have a birth record, thus enabling children without nationality to enjoy their basic rights particularly in education and health. The Nationality Act (Amendment 4) of B.E. 2551 (2008) specifies that children of ethnic groups born before 1992 should be granted Thai nationality and where they are without birth certificates, measures will be adopted to offer them such document. There are to be Ministerial Regulations which address the issue regarding the status of the children of those illegal 20 สวนที่ 3 การวิเคราะหผลการดําเนินการตามขอบัญญัติของอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ในทุกรูปแบบ ขอ 1 คําจํากัดความของการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในกฎหมายภายใน 41. แมประเทศไทยยังไมมีกฎหมายตอบสนองโดยตรงตอขอบัญญัติดานการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ แตมีโครงสราง พื้นฐานทางสังคมและการเมืองการปกครองที่เอื้อตอการตอบสนองตามอนุสัญญาอยูไมนอย ประกอบกับลักษณะ สังคมที่ผสมผสาน ไมมีการแบงแยก เหยียดผิวเผาพันธุหรือเชื้อชาติศาสนา ไมมีกฎหมายที่มีลักษณะในทางแบงแยก หรือจํากัดสิทธิทางเชื้อชาติของประชาชนกลุมหนึ่งกลุมใดจนถึงขั้นกอใหเกิดความขัดแยงรุนแรงทางดานเชื้อชาติ อีก ทั้งโครงสรางทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข ก็มีกลไกและมาตรการ ทางดานนิติบัญญัติ ตุลาการ และการบริหาร ตลอดจนมาตรการที่เกี่ยวของอื่นๆ ที่เอื้อตอความกลมเกลียวทางเชื้อ ชาติอยูหลายประการ นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 บัญญัติความ คุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพของบุคคล (มาตรา 4) ความเสมอภาคในความคุมครองไวทุกเหลา กําเนิด เพศ ศาสนา (มาตรา 5) และทั้งหญิงชาย บัญญัติหามการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุ ความแตกตางที่ครอบคลุมถึงเรื่องถิ่นกําเนิดเชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของ บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรมหรือความคิดเห็นทางการเมืองที่ไมขัด ตอรัฐธรรมนูญที่สําคัญบัญญัติมาตรการพิเศษไวดวยวา “...มาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมให บุคคลสามารถใชสิทธิและเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่นยอมไมถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม... ” (มาตรา 30) ซึ่งสอดคลองกับขอ 1 วรรค 4 และขอ 2 วรรค 2 ของอนุสัญญา 42. แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามรัฐธรรมนูญ (หมวด 5 มาตรา 71-89) หลายประการสนับสนุนหลักการขจัดการ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ เชน กําหนดใหรัฐตองใหความอุปถัมภและคุมครองพุทธศาสนาและศาสนาอื่น สงเสริมความ เขาใจอันดีและความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา สงเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ และถือหลัก ในการปฏิบัติตอกันอยางเสมอภาค 43. นอกจากกฎหมายรัฐธรรมนูญแลว ประเทศไทยยังไดออกกฎหมายตลอดจนกฎระเบียบตางๆ ที่มุงเนนการขจัด การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติหลายฉบับ อาทิ พ.ร.บ. ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ซึ่งมี บทลงโทษผูคามนุษยที่รุนแรงขึ้น เหยื่อคามนุษยสามารถเรียกรองคาเสียหาย และจะไดรับที่พักพิงตลอดจนความ ชวยเหลือและเยียวยามากขึ้น โดยไมคํานึงถึงสัญชาติ พ.ร.บ.ยังกําหนดใหผอนผันใหผูเสียหายที่ไมไดมีสัญชาติไทย สามารถอยูในราชอาณาจักรไดเปนการชั่วคราว และไดรับอนุญาตใหทํางานเปนการชั่วคราวตามกฎหมายได โดยให คํานึงถึงเหตุผลทางดานมนุษยธรรมเปนหลัก นอกจากนี้ ในกรณีที่ผูเสียหายในตางประเทศเปนคนตางดาวที่ไดรับ อนุญาตใหมีถิ่นที่อยูในประเทศไทยตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง หรือเปนคนตางดาวที่ไมมีเอกสารประจําตัว แตมี เหตุอันควรที่เชื่อไดวาเปนผูที่มีหรือเคยมีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรโดยถูกตองตามกฎหมาย เมื่อไดตรวจ พิสูจนสถานะของการไดรับอนุญาตใหมีถิ่นที่อยูเปนการชั่วคราว และสถานะของการมีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูใน ราชอาณาจักรตามลําดับแลว หากผูนั้นประสงคจะกลับเขามาในราชอาณาจักร ใหเจาพนักงานดําเนินการเพื่อให ผูเสียหายนั้นเดินทางกลับเขามาในราชอาณาจักรโดยไมชักชา พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ซึ่ง กําหนดใหนายทะเบียนรับแจงการเกิด และออกสูติบัตรทั้งกรณีของเด็กที่มีสัญชาติไทยและไมมีสัญชาติไทยโดยการ เกิดตามกฎหมายวาดวยสัญชาติ ซึ่งทําใหเด็กทุกคนที่เกิดในไทยมีขอมูลการเกิด และจะทําใหเด็กไรสัญชาติไดสิทธิ ตางๆ โดยเฉพาะในดานการศึกษาและสาธารณสุข พ.ร.บ. สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งกําหนดใหบุตรของกลุม ชาติพันธุที่เกิดกอนป 2535 แตไมมีหลักฐานการเกิด สามารถไปยื่นขอใหนายทะเบียนออกเอกสารการเกิดไดที่วา 21 immigrants originally regarded as illegal immigrants. The Act on Alien Persons Working in Thailand, B.E.2551 (2008) stipulates that all migrant workers with work permits will receive the same social security, welfare and protection as Thai labour, under the Labour Protection Act and the Social Security Act. Article 2 Condemnation of racial discrimination and policy to eliminate racial discrimination Condemnation of racial discrimination 44. Thailand has not made an official declaration in writing to condemn racial discrimination. But its Constitution guarantees the protection of rights and liberties, as well as equality for every Thai citizen of all origins and religions. Thailand also has a state policy direction that aims to promote good relations and equality among its people, and cooperation with other nations in upholding international justice and world peace. This is evident in all Thailand’s Constitution laws dating back to the 1974 Constitution and even before. Furthermore, Thailand has no policy or law that divides its people by class, race or nationality under the democratic system and in Thai society. It does not support or condone any act of racial discrimination by any person or organization. Implementation at the levels of officials and organisations on the basis of nondiscrimination 45. Government civil servants or officials are duty bound by the Constitution to implement under the law to uphold public interest, facilitate and provide services to the people without bias or any political inclination. In the case of neglect of the aforesaid duties, the stakeholders concerned can file requests for clarification (Section 70). Malpractice or neglect of duty performance by government civil servants or officials with the intent of causing damage to any individual is a criminal act with punitive measures of 1–10 years’ imprisonment or fine, or both. (Criminal Code, Section 157) Moreover, there is the Act on Civil Servants’ Regulations B.E. 2535 (1992) that specifies on general requirements of genuine belief in the democratic system with the King as the Head of State, and strict observance of governance. On top of this law, there is also a Code of Conduct, which governs their conduct. According to this Code of Conduct, civil servants must welcome, attend to and facilitate all peoples’ visits to their offices without delay, with willingness and courtesy. They must render the best services to the people in all fairness, and provide assistance where needed. They must not look down upon, humiliate or intimidate the people who seek their help in any way. Those in serious offence of these disciplines will face harsh disciplinary punishment (Section 94). Civil servants must perform their duties with honesty, loyalty and fairness. Malpractice or failure to perform their duties for illegitimate self benefit or for the benefit of others are regarded as serious professional dishonesty and disciplinary misconduct (Section 82). The aforementioned provisions under these laws are guarantees of non-discrimination by personnel in the government sector. To ensure effectiveness in practice, knowledge transfer has been given to the government personnel involved in legal and judicial system, education, health, etc. to increase their knowledge and awareness about human rights. Such knowledge transfer has been in the forms of meetings, seminars, training courses, study visits, etc. conducted extensively at national and sub-national levels. 46. At organizational or institutional level, the Constitution provides for a number of independent bodies as mechanisms to guarantee the implementation of human rights in compliance with its binding provisions regarding human rights. Those bodies are the Administrative Court, the Parliamentary Ombudspersons, and the National Human Rights Commission. There are supportive laws to ensure effective operation of these independent organizations. To mention but some, the Act on the Establishment of the Administrative Court and Administrative Procedures B.E. 2542 (1999) is the law that guides and governs 22 การอําเภอ และบุตรของผูหลบหนีเขาเมืองซึ่งเดิมใหถือวาเปนผูเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย จะอยูในประเทศไทยฐานะใด นั้น ใหเปนไปตามกฎกระทรวง และ พ.ร.บ. การทํางานของบุคคลตางดาว พ.ศ. 2551 ซึ่งกําหนดใหแรงงานตางดาวที่ มีใบอนุญาตทํางานจะไดรับการประกันสุขภาพ สวัสดิการ และการคุมครอง ตาม พรบ.คุม ครองแรงงาน และ พรบ. ประกันสังคม เชนเดียวกับแรงงานไทย ขอ 2 การประณามการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติและนโยบายขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ การประณามการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ 44. ประเทศไทยมิไดมีการประกาศเปนทางการเพื่อประณามการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติเปนลายลักษณอักษร แตมี รัฐธรรมนูญที่ประกันการคุมครอง สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของประชาชนชาวไทยทุกเหลากําเนิดและศาสนา มี แนวนโยบายแหงรัฐที่มุงสงเสริมสัมพันธไมตรี ความเสมอภาคระหวางกันและความรวมมือกับนานาประเทศในการ รักษาความยุติธรรมระหวางประเทศและผดุงสันติสุขของโลกไวในรัฐธรรมนูญหลายๆ ฉบับยอนไปไดไกลกวาฉบับป 2517 นอกจากนี้ ไทยไมมีนโยบายหรือกฎหมายแบงแยกชนชั้นผิวหรือเชื้อชาติในระบอบการปกครองและใน สังคมไทย ไมมีการอุปถัมภหรือชวยเหลือการเลือกปฏิบัติเรื่องนี้โดยบุคคลหรือองคกรใด การปฏิบัติงานในระดับเจาหนาที่และองคกรบนพื้นฐานของการไมเลือกปฏิบัติ 45. ขาราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐ มีหนาที่ตามรัฐธรรมนูญที่ตองดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อรักษา ประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวกและใหบริการแกประชาชน โดยตองวางตนเปนกลางทางการเมือง หากละเลย ไมปฏิบัติหนาที่ บุคคลผูมีสวนไดสวนเสียสามารถขอใหชี้แจงแสดงเหตุผลได (มาตรา 70) การปฏิบัติหรือละเวนการ ปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานโดยมิชอบ เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใดหรือโดยทุจริตเปนโทษทางอาญาถึงขั้น จําคุก 1-10 ปหรือปรับ หรือทั้ง 2 ประการ(ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157) นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติ ระเบียบขาราชการพลเรือนพ.ศ. 2435 กําหนดคุณสมบัติทั่วไปในเรื่องความเลื่อมใสตอการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขดวยความบริสุทธิ์ใจและไมบกพรองในศีลธรรมอันดี มีวินัย ขาราชการกํากับอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งบัญญัติใหตองตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรม และใหการสงเคราะหแก ประชาชนผูมาติดตอราชการเกี่ยวกับหนาที่ของตนโดยไมชักชาดวยความสุภาพเรียบรอย หามมิใหดูหมิ่น เหยียด หยาม กดขี่ขมเหงประชาชนผูมาติดตอราชการหากกระทําการดังกลาวอยางรายแรง มีโทษผิดวินัยอยางรายแรง (มาตรา 94) ตองปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย สุจริตและเที่ยงธรรม การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดประโยชนที่มิควรไดเปนการทุจริตตอหนาที่ราชการและความผิดวินัยรายแรง (มาตรา 82) ขอบัญญัติตางๆ ตามกฎหมายเหลานี้เปนหลักประกันการไมเลือกปฏิบัติของเจาหนาที่ของรัฐและเพื่อให เกิดผลในทางปฏิบัติจึงมีการสรางความรูความเขาใจในเรื่องสิทธิมนุษยชนแกบุคลากรของรัฐที่เกี่ยวของกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม การศึกษา สาธารณสุข และอื่นๆ ทั้งในรูปการประชุม สัมมนา ฝกอบรมและศึกษาดูงาน ฯลฯ ทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค 46. ในระดับองคกรหรือสถาบัน รัฐธรรมนูญกําหนดใหมีองคกรอิสระ ซึ่งเปนกลไกประกันการปฏิบัติตามพันธกรณี ดานสิทธิมนุษยชน คือ ศาลปกครอง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งมี กฎหมายรองรับเพื่อการปฏิบัติหนาที่ใหไดผล เชน มีพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 เปนกฎหมายในการดําเนินภารกิจของศาลปกครองซึ่งใหอํานาจกําหนดคําบังคับใหเพิกถอนกฎหรือคําสั่ง 23 the operation of the Administrative Court. It gives the Court authority to determine verdicts to revoke administrative rules, regulations or orders, to order government officers to perform their duties, to disburse money, to transfer assets, or to treat the persons involved in respect of their rights or duties. Furthermore, for the government agencies including educational institutions, especially Ministries and Departments, which have missions related to solving problems that affect ethnic groups, e.g. the National Security Council, the Ministry of Interior, the Ministry of Public Health, the Ministry of Education, the Ministry of Social Development and Human Security, the Ministry of Natural Resources and Environment, they have revised the policy direction in solving conflicts between the state and the people, by adhering to the human rights principles, using mainly the negotiating system and the process of people’s participation. Meanwhile, a draft legislation on the elimination of unjust discrimination toward individual persons has been proposed by women’s organizations to the government for consideration with a view to further submission to the parliament. Policy review 47. In reviewing policies or revising or dissolving laws that stipulate discriminatory practices, it is found that Thailand has no discriminatory laws as such in normal circumstances nor as general practice in its society. Race is not a limitation or condition in legal dealings, or admission to employment both in the public and private sectors. Thailand’s laws, rules and regulations only specify Thai nationality as a requirement of employment, regardless of race or origin. Clear examples of review and revision of Thailand’s policies, laws, rules and regulations to overcome obstacles to totally achieve racial non-discrimination are the following: the termination of the Master Plan for the Development of Community and Environment and Control of Addictive Plants on the Highlands; the announcement of Strategies for the Management of Persons’ Status and Rights in 2005; the announcement of the National Security Policy B.E. 2550-2554 (2007– 2011); the improvement of the Act on Nationality and the Act on Civil Registration, the Human Trafficking Act, the Community Forests Act; and the proposition of a legislation on the elimination of unjust discrimination toward individual persons; as well as Operational Rules and Regulations regarding Migrant workers, Regulations on the Educational Management of Persons without status, etc. Race integration 48. In bringing the different races together, contributed by the long traditional practice and the provisions under the many Amendments of the Thai Constitution as mentioned earlier, Thailand has implemented concrete measures to promote good relations, understanding and unity among its peoples, starting with advocacy campaigns by both the private sector and the civil sector with concepts on human security as the ultimate aim. There have been review, revival and establishment of organizations that are seriously committed to promoting unity in ethnic groups. For example, the revival of the Southern Border Provinces Administrative Center to enhance and speed up development for the Muslim Thais, the revival of the Welfare and Development Centre for the Hill Tribes under the Ministry of Social Development and Human Security, the establishment of the Institution on Peaceful Strategies under the National Security Council, and the serious effort to use more peaceful strategies and dialogue, as well as to instill this concept into the minds of children and the new generation of young people through cultural exchange programmes and educational management that aims for a united and harmonious society. Moreover, Thailand, by the public sector, has initiated a number of special projects to improve the quality of life of the people in remote areas, ethnic groups on the highlands and the Malayu-descended Thais in the southern border provinces. These projects, once implemented to a certain satisfactory level, will be institutionalized and taken up by the respective local administrative offices which are closer to the target groups of people. Besides, there have been various collective efforts made by the various sectors in society to promote and strengthen unity of the people in the nation. These efforts are from the public, the private and the civil society sectors, as well as academic and religious institutions both 24 ใหเจาหนาที่รัฐปฏิบัติตามหนาที่ ใหใชเงินสงมอบทรัพยสินหรือถือปฏิบัติตอสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลที่เกี่ยวของก็ได นอกจากนี้สถาบันของรัฐทุกแหงรวมถึงสถาบันวิชาการตางๆ โดยเฉพาะกระทรวงทบวงกรมที่มีภารกิจเกี่ยวของกับ การจัดการปญหาที่มีผลกระทบตอกลุมชาติพันธุ เชน สภาความมั่นคงแหงชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ไดปรับแนวทางการแกไขปญหาความขัดแยงระหวางรัฐกับประชาชนโดยยึดแนวทางตามหลักสิทธิ มนุษยชนดวยระบบเจรจาและกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนเปนหลัก รวมถึงมีการเสนอรางพระราชบัญญัติวา ดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลจากกลุมองคกรสตรี เสนอตอรัฐบาลเพื่อพิจารณานําเสนอ รัฐสภาตอไป การทบทวนนโยบาย 47. ทบทวนนโยบายหรือแกไขยกเลิกกฎหมายที่กําหนดใหมีการเลือกปฏิบัติ ประเทศไทยไมมีกฎหมายเลือกปฏิบัติใน สภาวะปกติหรือการปฏิบัติทั่วไปในสังคม เรื่องเชื้อชาติมิไดเปนขอจํากัดหรือเปนเงื่อนไขในการดําเนินการตางๆ ทาง กฎหมาย การเขารับราชการหรือการทํางานทั้งในภาครัฐและเอกชน กฎหมายและกฎระเบียบตางๆ บัญญัติไวเพียงให มีสัญชาติไทยเทานั้น ไมมีการกําหนดเรื่องเชื้อชาติ การยุติแผนแมบทเรื่องการพัฒนาชุมชนสิ่งแวดลอมและควบคุมพืช เสพติดบนพื้นที่สูง การประกาศใชยุทธศาสตรการจัดการสถานะและสิทธิของบุคคลในป ๒๕๔๘ และการประกาศ นโยบายความมั่นคงแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ การปรับปรุงกฎหมายสัญชาติและกฎหมายการทะเบียนราษฎร กฎหมายการคามนุษย กฎหมายปาชุมชน และการเสนอรางกฎหมายการขจัดการเลือกปฏิบัติการขจัดการเลือกปฏิบัติ โดยไมเปนธรรมตอบุคคล ระเบียบเกี่ยวกับแรงงานตางดาว ระเบียบการจัดการศึกษาบุคคลไรสถานะ ฯลฯ ลวนเปน ตัวอยางของการทบทวนแกไขนโยบายกฎหมาย มาตรการและขจัดอุปสรรคขวางกั้นทางเชื้อชาติที่ชัดเจนของไทย การประสานเชื้อชาติ 48. ในการดําเนินการประสานเชื้อชาติตาง ๆ เขาดวยกัน นอกจากจะมีการปฏิบัติมาแตดั้งเดิมและบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญหลายๆ ฉบับที่ผานมาดังไดกลาวแลว ประเทศไทยยังมีการดําเนินการในทางปฏิบัติเพื่อการสงเสริม สัมพันธไมตรี สรางความเขาใจอันดีและความกลมเกลียวสมานฉันท โดยมีการสงเสริมและการรณรงคดวยโครงการ ตางๆ ทั้งของภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชน ดวยแนวคิดเรื่องความมั่นคงของมนุษยเปนเปาหมาย มีการ ทบทวนรื้อฟนและกอตั้งองคกรสรางความสมานฉันทในกลุมชาติพันธุขึ้นมาดําเนินการเรื่องนี้อยางจริงจัง เชน การรื้อ ฟนศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอบต.) เพื่อสงเสริมการพัฒนาใหกับชาวไทยเชื้อสายมลายู และ การรื้อฟนศูนยสงเคราะหและพัฒนาชาวเขาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย การจัดตั้งสถาบัน ยุทธศาสตรสันติวิธีในสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ และความพยายามในการใชยุทธศาสตรสันติวิธี และการ เจรจาพูดคุยระหวางกันมากขึ้น ตลอดจนปลูกฝงแนวคิดนี้ในหมูเด็กและเยาวชนรุนใหมอยางจริงจัง ทั้งการจัด โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชน และการจัดการศึกษาที่มุงสูสังคมสมานฉันท นอกจากนี้ประเทศไทยโดยภาครัฐมี โครงการพิเศษจํานวนมากเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุมคนในพื้นที่หางไกล กลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูงและคน ไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการเหลานี้เมื่อดําเนินการไดผลขั้นหนึ่งแลวจะโอนใหองคการบริหาร สวนทองถิ่นซึ่งอยูใกลชิดประชาชนโดยตรงรับชวงดําเนินการตอ รวมถึงมีความพยายามจากภาคสวนตางๆ ในสังคม รวมกันเสริมสรางความสมานฉันทของคนในชาติ ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน ตลอดจนสถาบันวิชาการและ 25 at the national and local levels. They seek to raise awareness about the value of unity, to translate the concept down to practice and to expand it extensively to the people through related agencies and organizations. Policy to eliminate racial discrimination 49. The following are major policies and work plans used as guidelines for the country’s development, which cover the implementation on human rights protection and the elimination of racial discrimination: The Five-Year National Economic and Social Development Plan – From the period of this report to present is under the 9th–10th plans (2001–2006 and 2007–2011). The two plans have set strategies for human resource and country development and to move Thailand towards being a society of wisdom and learning, based on the directives of building harmony and peaceful coexistence among Thai people, strengthening good relations of all peoples in the society on the basis of rationality, enhancing human security and quality of living at both family and community levels, developing diverse and extensive social and economic security systems, promoting safe and healthy living on the basis of social justice, strengthening integrated judicial process and strict law enforcement, in conjunction with raising awareness on rights and duties of citizens and on the values of and respect for human dignity to reduce conflict. Policy and 1st National Master Plan of Action on Human Rights (2001–2005). 5 Strategic Implementation Plan of the National Human Rights Commission (2002– 2007), and theme-specific plans on various issues, e.g. Plan on Children and Youth, Plan on Women, Plan on Family, etc. Strategic Plan of the Court of Justice to conduct justice and protect the rights and liberties of the people in fairness, promptness and equality under the principle of legal governance. This justice must be made equally and extensively accessible to all persons to ensure their basic rights and liberties, as a guarantee for the commitment towards the elimination of racial discrimination under Article 5 of the Convention. Strategy to Address the Problem of Status and Rights of Persons 2005 is a policy and strategy aimed directly to speed up the solution of the problem of status of persons. It determines status for the group of persons without clear status, so that they can access rights. This policy lays down a system to protect their legitimate rights, to enable them to lead their lives and participate in the country’s development to their full potentials. It hopes to prevent new immigration of persons without status, adjust the attitude and provide assurance and guarantee on honest conduct by state officials to reduce the opportunity for exploitation. Four strategies have been utilized: (1) Strategy on Status Determination; (2) Strategy on Provision of Basic Rights; (3) Strategy on Proactive and Creative Implementation; and (4) Strategy on Administration. Policies, work plans and special measures toward ethnic groups 50. The Policy and Master Plan for Community Development, Environment and Addictive Plants Control on the Highlands, Amendment 1, 2 and 3 (1992–1996, 1997– 2001, 2001–2006) is under the responsibility of the National Security Council. It aims to reorganize the communities on the highlands into permanent households and villages by law, and at the same time, to regulate their land utilization. The plans seek to speed up the persons’ status identification for the highlands people to make them legitimate, to prevent and block new immigrants, and to monitor situations and problems. In coming up with 5 During preparation of this report, Thailand is preparing the 2nd National Master Plan of Action on Human Rights. The 1st Plan of Action is in effect until the 2nd Plan is completed. 26 สถาบันศาสนาตาง ๆ ทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น โดยนําแนวคิดลงสูการปฏิบัติและขยายสูประชาชนผาน หนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของอยางกวางขวาง นโยบายการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ 49. นโยบายและแผนงานที่ใชเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศ ที่ครอบคลุมการดําเนินงานคุมครองสิทธิมนุษยชน และขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติที่สําคัญ ไดแก แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระยะ 5 ป ในชวงเวลาตามรายงานและปจจุบันอยูในชวงของ แผนฉบับที่ 9-10 (พ.ศ. 2544 – 2549 และ พ.ศ. 2550 - 2554) ซึ่งไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและ สังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูดวยแนวทางการเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติสุข มุงเสริมสรางความสัมพันธที่ดีของคนในสังคมบนฐานของความมีเหตุมีผล ดํารงชีวิตอยางมั่นคงทั้งในระดับครอบครัว และชุมชน พัฒนาระบบการคุมครองทางเศรษฐกิจและสังคมที่หลากหลายและครอบคลุมทั่วถึง สงเสริมการดํารงชีวิต ที่มีความปลอดภัยนาอยู บนพื้นฐานของความยุติธรรมในสังคม เสริมสรางกระบวนการยุติธรรมแบบบูรณาการและ การบังคับใชกฎหมายอยางจริงจังควบคูกับการเสริมสรางจิตสํานึกดานสิทธิและหนาที่ของพลเมือง และความตระหนัก ถึงคุณคาและเคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเพื่อลดความขัดแยง - นโยบายและแผนปฏิบัติการแมบทดานสิทธิมนุษยชนแหงชาติฉบับแรก (พ.ศ. 2544 - 2548)5 แผนยุทธศาสตรการดําเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2545 - 2550 และแผนเฉพาะ เรื่อง / ดานตาง ๆ เชน แผนดานเด็กและเยาวชน ดานสตรี ครอบครัว ฯลฯ แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม เพื่อการอํานวยความยุติธรรม และคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนดวย ความเที่ยงธรรม รวดเร็ว และเสมอภาค ภายใตหลักนิติธรรม ที่ทุกคนสามารถเขาถึงอยางเทาเทียมและทั่วถึง เพื่อสิทธิ และเสรีภาพขั้นพื้นฐานตามพันธกรณีในการใหหลักประกันตอ “การขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ” ภายใตกรอบ อนุสัญญาฯ ขอที่ 5 - ยุทธศาสตรการจัดการปญหาสถานะและสิทธิของบุคคล 2548 เปนนโยบายและแผนยุทธศาสตรเพื่อเรงรัด แกปญหาสถานะบุคคลโดยตรง โดยกําหนดสถานะกลุมบุคคลที่ไมมีสถานะชัดเจนใหสามารถเขาถึงสิทธิ และวางระบบ การคุมครองสิทธิที่พึงไดรับใหสามารถดํารงชีวิตและมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศไดตามศักยภาพ ปองกันการ อพยพเขามาใหมของกลุมคนที่ไมมีสถานะ ปรับทัศนคติและสรางหลักประกันการปฏิบัติงานโดยสุจริตของเจาหนาที่ ของรัฐใหมั่นใจในการปฏิบัติงานและลดโอกาสแสวงประโยชนโดยใช 4 ยุทธศาสตร คือ 1) ยุทธศาสตรการกําหนด สถานะ 2) ยุทธศาสตรการใหสิทธิขั้นพื้นฐาน 3) ยุทธศาสตรการดําเนินการเชิงรุกและสรางสรรค และ 4) ยุทธศาสตร การบริหารจัดการ นโยบาย แผนงานและมาตรการพิเศษตอกลุมชาติพันธุ 50. นโยบายและแผนแมบทเพื่อการพัฒนาชุมชน สิ่งแวดลอมและควบคุมพืชเสพติดบนพื้นที่สูง ฉบับที่ 1, 2 และ 3 (พ.ศ. 2535 - 2539, พ.ศ. 2540 - 2544 และ พ.ศ. 2544 - 2549) เปนแผนในความรับผิดชอบของสภาความมั่นคง แหงชาติที่มุงจัดระเบียบใหชุมชนบนพื้นที่สูงมีถิ่นฐานมั่นคงถาวรเปนหมูบานตามกฎหมาย กําหนดขอบเขตและการใช ประโยชนที่ดิน เรงรัดกําหนดสถานภาพบุคคลของบุคคลบนพื้นที่สูงใหถูกตองตามกฎหมาย ปองกันและสกัดกั้นการ อพยพเขามาใหม ตรวจสอบติดตามปญหาและเตรียมการแกไขใหเหมาะสมดวยกรอบดําเนินงาน 3 ยุทธศาสตร คือ 5 ขณะจัดทํารายงานฉบับนี ้ ประเทศไทยกําลังอยูร่ ะหว่างการจัดทําแผนแม่บทสิทธิมนุษยชนฉบับที่ ๒ โดยให้ ใช้ แผนแม่บทฉบับแรกไปก่อนจนกว่าการจัดทําแผนฉบับที่ ๒ จะแล้ วเสร็ จ 27 appropriate solutions to the problems, three strategies of implementation framework have been laid down, namely the Strategy to bring sustainable security to the highland communities, the Strategy for the development and management of habitat and livelihood including land for cultivation on the highlands, and the Strategy for Administration and Management. These strategies have been devised into practical plans/ projects. A Committee has been set up, the members of which are from related agencies working together. This Master Plan has later developed into the new Policy and Strategic Plan of 2005. Besides, there are many other plans/projects implemented by the government sector and the civil society sector. (See details in annex II.) Article 3 Condemnation of racial division and apartheid 51. Thailand does not condone racism or apartheid. Article 4 Condemnation of dissemination of thoughts or organisations on the basis of racial superiority 52. Thailand has had, throughout its long history, a mixed population of diverse races. Any belief or favouritism toward racism or racial superiority would contradict the fundamental sentiment of the Thai people. It is therefore difficult for such beliefs to form, exist and expand to the extent of affecting other races or societies. The Thai Constitution stipulates that the use of power by state agencies must consider and respect human dignity, rights, liberties and equality of people who can demand their rights by filing lawsuits in court. There are measures to promote the rights of persons and communities in preserving their cultures, traditions and local wisdom. They have the right to file complaints or petition against government agencies and organizations to admit their wrongdoings, the right to participate in the court hearing process involving government officers related to administration that affects their rights (Sections 56, 60–62), and the right to exercise peaceful opposition (Section 65). At the same time, the Constitution guarantees the rights and freedom of expression of the media in giving their opinion, speaking, writing, printing, advertising, or other forms of communication. It prohibits limitation of liberty, or editing of news, columns or articles of the print media, radio and television before broadcasting. These media operators have the freedom to present news and express their opinions under the Constitution (Sections 39–41). 53. Thailand has no law that directly sets punitive measures toward racist propaganda. However, there are related laws covering this issue, as noted below. 54. The Criminal Code stipulates that making others commit an offence, propagating or announcing to the public to commit an offence, being accomplices to a crime toward an offence by supporting or facilitating are criminal offences to serve the same legal punishment as the offenders themselves (Sections 83–88). Insulting others or announcing propaganda are offences that will serve fine or imprisonment, or both (Section 393). Any act of insult to religion towards objects or places, or causing disturbances at religious congregations or ceremonies will result in a fine or imprisonment, or both (Sections 206– 207). Laws regarding radio and television broadcasting and consumer protection 55. The Radio and Television Broadcasting Act B.E. 2498 (1955) prohibits transmitting or arranging for radio or television transmission of news and information known to be untrue, which may cause damage to the country or people (Section 10). Offenders will face a fine of not more than 2,000 Baht or imprisonment of not more than one year, or both (Section 21). This law is supplemented by other regulations and Ministry Regulations containing supportive measures, such as the following: 28 ยุทธศาสตรสรางความมั่นคงถาวรของชุมชนบนพื้นที่สูง ยุทธศาสตรการพัฒนาและจัดการเรื่องที่อยูอาศัยและที่ดินทํา กินบนพื้นที่สูง และยุทธศาสตรการบริหารจัดการ ซึ่งมีแผนงาน/โครงการในทางปฏิบัติรองรับและมีคณะกรรมการจาก หนวยงานที่เกี่ยวของทํางานรวมกัน แผนแมบทฉบับนี้ ตอมาไดพัฒนาไปสูนโยบายและแผนยุทธศาสตรฉบับใหมในป 2548 นอกจากนี้ ยังมีแผนงาน/โครงการที่ดําเนินการโดยภาครัฐและเอกชนอีกหลายโครงการ (ดูรายละเอียดใน ภาคผนวก 2) ขอ 3 การประณามการแบงแยกทางเชื้อชาติและลัทธิแบงแยกผิว 51.ประเทศไทยไมเคยมีลัทธิแบงแยกเชื้อชาติหรือลัทธิแบงแยกผิว จึงไมมีกิจกรรมตอตานและประณามในเรื่องนี้ โดยตรง ขอ 4 การประณามการเผยแพรความคิดหรือองคกรที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความเหนือกวาทางเชื้อชาติ 52. ประเทศไทยมีประชากรที่ผสมผสานดวยเชื้อชาติหลากหลายมาแตดั้งเดิมยาวนาน ความเชื่อเรื่องเชื้อชาตินิยม หรือเชื้อชาติหนึ่งใดสูงสงกวาเชื้อชาติอื่นยอมจะขัดตอความรูสึกพื้นฐานของคนในชาติจึงยากที่จะเกิดขึ้นดํารงอยูและ แพรหลายจนสงผลตอเชื้อชาติหรือสังคมอื่นได รัฐธรรมนูญบัญญัติใหการใชอํานาจโดยองคกรรัฐตองคํานึงถึงและ เคารพตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลซึ่งสามารถเรียกรองสิทธิโดยฟองรองใน ศาลได มีมาตรการสงเสริมสิทธิของบุคคลและชุมชนในการบํารุงรักษา วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น สิทธิที่ จะเสนอเรื่องราวรองทุกข ฟองหนวยราชการและองคกรของรัฐใหรับผิดตอการกระทํา สิทธิที่จะมีสวนรวมใน กระบวนการพิจารณาของเจาหนาที่ปฏิบัติราชการทางปกครองที่มีผลกระทบตอสิทธิของตน (มาตรา 56, 60-62) และ สิทธิที่จะตอตานโดยสันติวิธี (มาตรา 65) แตขณะเดียวกันก็ประกันสิทธิเสรีภาพของสื่อในการแสดงความคิดเห็น การ พูด การเขียน การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่นๆ โดยหามจํากัดเสรีภาพและตรวจขาว บทความของสื่อสิ่งพิมพ วิทยุ โทรทัศนกอนการเผยแพรผูประกอบกิจการเหลานี้มีเสรีภาพในการเสนอขาวและความ คิดเห็นภายใตรัฐธรรมนูญ (มาตรา 39-41) 53. ประเทศไทยไมมีกฎหมายลงโทษโดยตรงตอการโฆษณาชวนเชื่อเรื่องเชื้อชาตินิยม แตมีกฎหมายที่เกี่ยวของ กํากับ ดูแลเรื่องนี้อยู เชน 54. ประมวลกฎหมายอาญา บัญญัติวาการกอใหผูอื่นกระทําความผิดการโฆษณาหรือประกาศแกบุคคลทั่วไปให กระทําความผิด การเปนตัวการสนับสนุนใหเกิดการกระทําความผิดหรือชวยเหลืออํานวยความสะดวก การรวม กระทําความผิด เปนโทษทางอาญาที่ตองรับโทษตามกฎหมายเหมือนเปนตัวการผูกระทําผิด (มาตรา 83 - 88) การดู หมิ่นซึ่งหนาหรือการโฆษณาเปนความผิดที่มีโทษทั้งจําคุก ปรับ หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 393) รวมถึงการกระทําอัน เปนการเหยียดหยามศาสนาแกวัตถุหรือสถานที่ หรือกอความวุนวายในที่ประชุมหรือพิธีกรรมตามศาสนาใดมีโทษ จําคุกหรือปรับหรือทั้ง 2 ประการ (มาตรา 206 - 207) กฎหมายเกี่ยวกับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนและกฎหมายคุมครองผูบริโภค 55. พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน พ.ศ. 2498 หามการสงหรือจัดใหสงวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุ โทรทัศนอันรูอยูวาเปนเท็จ หรือมิไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสียหายแกประเทศชาติหรือ ประชาชน (มาตรา 10) ผูฝาฝนมีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกิน 2 ,000 บาท จําคุกไมเกิน 1 ปหรือทั้งปรับทั้งจํา (มาตรา 21) รวมถึงมีระเบียบและกฎกระทรวงประกอบที่มีมาตรการสนับสนุนอยูหลายประการ เชน 29 ⋅ Regulations on Radio Broadcasting 1992 stipulate that all broadcasting be in Thai language (except certain programmes that have necessity to use other foreign languages). Thai language is defined as including local dialects in different localities of Thailand (No. 23). ⋅ Ministerial Regulation Amendment 14 dated 14 November 1994 sets specifications of broadcasting programmes to be: of intention to service and for true benefit of the public, considering equal rights and accessibility to news and information by the people, as well as promoting education, culture and ethics, which do not conflict with public morality and traditions (No. 14). The Regulation specifies further about broadcasting programmes, including commercials and business management not to be of the nature that may affect or insult the monarchy or other national leaders, which can cause insult to the country, the government, any government officers or any group of people, or which cause insult and damage to any religion, or show disrespect for the country’s highly-respected persons, places or objects, or which disrupt peace and order of the people causing disunity among peoples in the nation or damaging Thailand’s relations with other friendly nations, or which are insults on other persons (Nos. 16 and 21). Violations of these regulations can face suspension or revocation of the operator’s broadcasting license (No. 17). ⋅ Consumer Protection Act B.E. 2522 (1979) specifies consumer protection rules regarding commercials or advertisement that their copies must not contain any wording that is unfair to the consumers/ damaging to the general public (No. 3), or that may cause disunity or division among the people (Section 22). 56. Thailand does not condone any act of racism. Racism may also be linked to violence, lead to insults and marginalization of other races. Being a mixed and diverse society, any incident or act of such nature will face negative reaction from the Thai society immediately. There have been cases of certain songs banned from public broadcasting because they contain words or lyrics that may cause the sentiment of racial insult or ridicule. Some TV dramas and cinema films have been protested against or opposed by the society to the extent of succumbing to the pressure by having to edit, revise or withdraw from broadcasting. The reason is because those dramas or films were aiming to ridicule in a racist manner by mocking culture, tradition, way of living, language and identity of the people of a certain race or ethnicity. At present, Thailand is trying to improve its laws on certain media to cope with the current situations. For example, the draft new Films and Videos Act contains provisions that prohibit any content which is contradictory to the law and order of the country or to the decent moral values of the people, or undermining or affecting state security. 57. However, based on Thailand’s reservation to Article 4 of this Convention, the measures under subparagraphs (a), (b) and (c) will apply only when the country sees the necessity to enact such laws. Thailand considers that its laws and social conditions are sufficiently complementary to each other. Another reason is Thailand sees that immediate arrangement of positive measures may not be easy to achieve in practice. Article 5 Guarantee of a person’s right to non-discrimination Article 5 (a): Equal rights under courts of justice and the judicial process 58. The Thai Constitution sets provisions for observance of law on the protection of rights and liberties of a person, for systematization of judicial process work towards effectiveness, and for prompt conducting of justice for the people on the basis of equality (Section 75). The rights and liberties of a person under the judicial process imply that a person does not have to serve criminal punishment if he has not committed an offence, or must not be punished more harshly than what the law stipulates, and the accused must be assumed innocent and must not be treated as an offender until proven guilty. Every person 30 ระเบียบวาดวยวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2535 กําหนดใหออกอากาศเปนภาษาไทย (ยกเวนรายการที่มีความ จําเปนตองใชภาษาตางประเทศ) และภาษาไทยใหหมายความรวมถึงภาษาพื้นเมืองในทองถิ่นตาง ๆ ของประเทศไทย ดวย (ขอ ๒๓) กฎกระทรวง ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2537 กําหนดลักษณะรายการที่จะออกอากาศ วาตองมีเจตนารมณเพื่อบริการ และเปนประโยชนตอสาธารณชนอยางแทจริง คํานึงถึงสิทธิและความเสมอภาคในการรับรูขอมูลขาวสารของ ประชาชนตลอดจนสงเสริมการศึกษา จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม โดยไมขัดตอขนบธรรมเนียม ประเพณีและศีลธรรม อันดีงามของชาติ (ขอ 14) กําหนดคุณลักษณะของรายการรวมถึงการโฆษณาและบริหารธุรกิจไววาตองไมเปนการ แสดงที่อาจจะกระทบกระเทือนหรือดูหมิ่นสถาบันกษัตริยรวมถึงประมุขของประเทศอื่นๆ กอใหเกิดการดูหมิ่นเหยียด หยามประเทศชาติ รัฐบาล เจาหนาที่ของรัฐหรือกลุมชนใด ลบหลูเหยียดหยามหรือนําความเสื่อมเสียมาสูศาสนาใด หรือไมเคารพตอปูชนียบุคคล ปูชนียสถานหรือปูชนียวัตถุ ขัดตอความสงบเรียบรอยของประชาชน กอใหเกิดการแตก ความสามัคคีระหวางคนในชาติหรือกระทบกระเทือนตอสัมพันธไมตรีระหวางประเทศฯ หรือเปนการดูหมิ่นเหยียด หยามหรือทับถมบุคคลอื่น (ขอ 16 และ 21) ซึ่งหากฝาฝนอาจถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาต (ขอ 17) พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 มีขอกําหนดคุมครองผูบริโภคในดานการโฆษณาวาจะตองไมใช ขอความที่ไมเปนธรรมตอผูบริโภค /กอใหเกิดผลเสียตอสังคมเปนสวนรวม (3) ทําใหเกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสีย สามัคคีในหมูประชาชน (มาตรา 22) 56. ประเทศไทยไมมีการกระทําในลักษณะของลัทธิชาตินิยมที่ทําใหเกิดความรุนแรงหรือกีดกันเหยียดหยามตอเชื้อ ชาติอื่น และโดยที่เปนสังคมที่ผสมผสานหลากหลาย เมื่อเกิดเหตุการณหรือการกระทําใดที่จะเขาขายเปนการกระทํา ดังกลาว จะเกิดกระแสตอตานคัดคานจากสังคมโดยทันทีมีเพลงหลายเพลงถูกหามออกอากาศเนื่องจากมีเนื้อหาคํา รองที่อาจสรางความรูสึกในลักษณะดูถูกเหยียดหยามหรือสรางความตลกขบขันดานเชื้อชาติ มีละครโทรทัศนและ ภาพยนตรที่ถูกประทวงหรือตอตานจากสังคมจนตองตัดทอนแกไขหรือไมสามารถเผยแพรออกอากาศไดเนื่องจากมุง สรางความขบขันดวยการลอเลียนขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาพูดและอัตลักษณของบุคคลบางเชื้อชาติ / ชาติพันธุ และขณะนี้ประเทศไทยกําลังพยายามปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับสื่อบางประเภทใหสอดคลองกับสถานการณ ปจจุบัน เชน การรางพระราชบัญญัติภาพยนตรและวีดิทัศนฉบับใหมโดยมีขอบัญญัติที่ไมอนุญาตใหมีเนื้อหาที่ขัดตอ ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือบอนทําลายกระทบกระเทือนตอความมั่นคงของรัฐ 57. อยางไรก็ดีประเทศไทยมีขอสงวนตามขอ 4 ของอนุสัญญานี้โดยจะรับเอามาตรการภายใตวรรคยอย ขอ ก) ข) และ ค) เฉพาะเมื่อพิจารณาเห็นวามีความจําเปนที่จะตองจัดใหมีกฎหมายดังกลาวเทานั้น ทั้งนี้ดวยเหตุผลเกี่ยวกับ กฎหมายและสภาวะของสังคมที่มีความสอดคลองรองรับอยูพอสมควร และการจัดใหมีมาตรการทางบวกในทันทีไม อาจเปนไปไดโดยงายในทางปฏิบัติติ ขอ 5 การประกันสิทธิของบุคคลที่จะไมถูกเลือกปฏิบัติ ขอ 5 (ก) สิทธิเทาเทียมภายใตศาลและกระบวนการยุติธรรม 58. รัฐธรรมนูญไทยกําหนดใหมีการดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุมครองสิทธิเสรีภาพของบุคคล จัดระบบงาน ของกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพ อํานวยความยุติธรรมแกประชาชนอยางรวดเร็วเทาเทียมกัน (มาตรา 75) สิทธิเสรีภาพของบุคคลในกระบวนการยุติธรรม คือ ไมตองรับโทษทางอาญาถามิไดทําผิดกฎหมาย จะไมถกู ลงโทษ หนักกวาที่กฎหมายกําหนด จําเลยหรือผูตองหาตองไดรับการสันนิษฐานไวกอนวาไมมีความผิด และจะปฏิบัติตอ 31 has the right to fair and transparent trials, and to appropriate legal protection and assistance by the State. Any search, arrest or detention of a person conducted in private can only be done with a court warrant. Regarding requests for bail, prompt consideration must be made, and the person arrested or detained has the right to individual legal counseling with a lawyer and to be visited. The accused in a criminal case has the right to state assistance in promptly assigning a lawyer, if the accused cannot find one himself. The victim, the accused, and the witness has the right to protection, assistance, compensation, disbursement of expenses, etc. from the state, where deemed necessary and appropriate. They also have the right to request retrials (Sections 237–247). The Civil Procedure Code, and the Criminal Procedure Code set detailed court procedures under 323 articles and 267 articles respectively. There are also issue-specific laws according to the nature of those offences. In exercising compliance with the law under Thailand’s justice procedures, there are the Court of Justice and the Administrative Court, which protect the rights of every person who enters the judicial process equally, regardless of race or ethnicity. There are also justice procedures at the shelter for displaced persons who fled fighting from their countries. Even though Thailand has not acceded to the Convention relating to the Status of Refugees, it has jointly implemented with the international organizations concerned program to install justice procedures at the shelters, as well as in raising awareness of the personnel concerned on the procedures. 59. There are in practice several channels for filing complaints or petitions, both through the government sector and the private sector. For example, the government sector has, under the Constitution, these following organisations which deal with examination/investigation: the Parliamentary Ombudspersons, the National Human Rights Commission, the Administrative Court. The Judicial side has the Court of Justice, and the Administration has the Ministry of Justice (The Community Justice Centre, The Department of Rights and Liberties Protection, by the Justice Clinic, Department of Special Investigation), and the Ministry of Interior (“Damrong Dhamma” or Justice Upholding Centre). The private sector has the Lawyers’ Council, organizations belonging to ethnic groups, as well as various mass media. A number of service recipients are persons from ethnic groups who will receive assistance from the Justice Clinic Project, financially supported by the Department of Rights and Liberties Protection in supplying voluntary lawyers from the Lawyers’ Council to provide legal counseling. Moreover, each year, the Lawyers’ Council and other private organizations provide assistance to many cases involving ethnic people and nationality. A key example is measures to afford justice to the unsurveyed persons at Mae Ay District, and the case of the Malayu-descended Thais minority group. (See details in annex III.) Article 5 (b): Right to security and protection by the State 60. The Constitution states that a person has the right and liberty in his life and body. Torture or punishment using cruel or inhumane methods cannot be inflicted upon any person (except for capital punishment which is not regarded by Thai law as a cruel punishment). Arrest, detention, search or any other act that affects the rights and liberties of a person cannot be done, except by the provision and power of the law (Sections 31/32). Monitoring of human rights violations are done by the National Human Rights Commission (Sections 199–200) and the Parliamentary Ombudspersons (Sections 196–198). 61. According to the Criminal Code, punishment for the convicted are execution, imprisonment, detention, fine, confiscation of assets, according to the degree of severity of the crimes (Section 18). Capital punishment must not be imposed on convicted persons under 18 years of age, and execution is carried out by using lethal injection. (Amendment Act to the Criminal Code, 16th Amendment B.E. 2546 (2003), Sections 3,4). Those convicted of having used torture leading to murder are subjected to the death sentence (Section 289 (5)). 62. Regarding rights of the accused during trials, the Criminal Procedure Code provides the rights to private legal counseling with a lawyer while in detention or imprisonment, and 32 บุคคลนั้นเสมือนผูกระทําผิดกอนมีคําพิพากษาถึงที่สุดมิได ตองไดรับการพิจารณาคดีอยางเปดเผยเปนธรรม และไดรับ ความคุมครองชวยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ การจับกุมขังการตรวจคนบุคคลในที่รโหฐานตองกระทําโดยคําสั่งศาลคําขอ ประกันผูตองหา จําเลยตองไดรับการพิจารณาอยางรวดเร็วและผูถูกควบคุม/คุมขังมีสิทธิปรึกษาทนายความเปนการ เฉพาะตัว และไดรับการเยี่ยม โดยจําเลยในคดีอาญามีสิทธิไดรับความชวยเหลือจากรัฐดวยการจัดหาทนายความให โดยเร็วหากไมสามารถหาเองได ผูเสียหาย จําเลยและพยาน มีสิทธิไดรับความคุมครองความชวยเหลือ คาตอบแทน คา ทดแทน คาใชจาย ฯลฯ ที่จําเปนและสมควรจากรัฐ มีสิทธิรองขอใหรื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมได (มาตรา 237-247) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง วิธีพิจารณาความอาญา บัญญัติการดําเนินกระบวนวิธีพิจารณาคดีของศาลไว โดยละเอียด รวม 323 และ 267 มาตรา ตามลําดับ รวมถึงมีกฎหมายเฉพาะเรื่องตามลักษณะความผิดนั้นๆ การ ดําเนินการตามกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยในทางปฏิบัติ มีศาลยุติธรรมและศาลปกครองคุมครอง สิทธิผูเขาสูกระบวนการทุกคนโดยเสมอภาค ไมจําแนกเชื้อชาติหรือเผาพันธุ รวมถึงมีกระบวนการยุติธรรมในศูนยพักพิง ผูหนีภัยจากการสูรบแมจะยังมิไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาเกี่ยวกับผูลี้ภัยและผูพลัดถิ่น แตไดมีการดําเนินการรวมกับ องคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของจัดใหมีกระบวนการยุติธรรมในศูนยพักพิงพรอมกับการสรางตระหนักแกบุคลากรใน กระบวนการทุกขั้นตอน 59. ชองทางการรองเรียน ในทางปฏิบัติสามารถทําไดหลายแหลง ทั้งโดยผานองคกรภาครัฐและเอกชน เชน ภาครัฐมี องคกรตรวจสอบ/สอบสวนตามรัฐธรรมนูญคือ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติศาล ปกครอง ฝายตุลาการมีศาลยุติธรรม ฝายบริหารมีกระทรวงยุติธรรม (ศูนยยุติธรรมชุมชน กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ โดยคลินิกยุติธรรม กรมสืบสวนคดีพิเศษ) กระทรวงมหาดไทย (ศูนยดํารงธรรม) ภาคเอกชนมีสภาทนายความ องคกร ของกลุมชาติพันธุ ตลอดจนสื่อมวลชนตางๆ โดยผูรับบริการจํานวนหนึ่งเปนบุคคลจากกลุมชาติพันธุจะไดรับความ ชวยเหลือจากโครงการคลินิคยุติธรรมซึ่งไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพจัดทนายอาสา จากสภาทนายความมาชวยใหคําปรึกษาดานกฎหมาย นอกจากนี้ในแตละป สภาทนายความและองคการเอกชนอื่นๆ ได ใหความชวยเหลือคดีเกี่ยวกับชนเผาและสัญชาติอยูเปนจํานวนมาก ตัวอยางที่สําคัญคือการอํานวยความยุติธรรมกรณีผู ตกสํารวจทางทะเบียนราษฎรที่อําเภอแมอายและกรณีชนกลุมนอยคนไทยเชื้อสายมลายู (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ๓) ขอ 5 (ข) สิทธิในสวัสดิภาพและการคุมครองโดยรัฐ 60. รัฐธรรมนูญกําหนดวา บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย การทรมาน ทารุณกรรมหรือการลงโทษ ดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรมจะกระทํามิได (เวนแตการลงโทษประหารชีวิตตามกฎหมายไมจัดเปนโทษทารุณ โหดราย) การจับกุมคุมขังตรวจคนตัวหรือการกระทําที่กระทบตอสิทธิเสรีภาพจะกระทํามิไดเวนแตอาศัยอํานาจตาม กฎหมาย (มาตรา 31/32) โดยมีองคกรตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน คือ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (มาตรา 199-200) และผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (มาตรา 196-198) 61. ตามประมวลกฎหมายอาญาโทษสําหรับผูถูกตัดสินวากระทําผิดมีประหารชีวิต จําคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพยสิน ตาม ระดับความรุนแรงของการกระทําผิด (มาตรา 18) โทษประหารชีวิตมิใหนํามาใชบังคับแกผูซึ่งกระทําผิดในขณะที่มีอายุ ต่ํากวา 18 ป และการประหารใหดําเนินการดวยวิธีฉีดยาหรือสารพิษใหตาย (พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวล กฎหมายอาญา (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2546 มาตรา 3,4) สวนผูที่กระทําการทรมาน ทารุณโหดรายตอผูอื่น ฆาผูอื่นโดย ทรมานหรือโดยกระทําทารุณโหดรายมีโทษประหารชีวิต (มาตรา 289 (5)) 62. สิทธิระหวางการพิจารณาคดี ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาใหสิทธิพบปรึกษาทนายไดสองตอสองขณะ ถูกควบคุม/ขังระหวางถูกจับกุม ไดรับการเยี่ยมและรักษาพยาบาลหากเจ็บปวย พนักงานเจาหนาที่ผูเกี่ยวของมีหนาที่ 33 to medical visitation and treatment in illness. The personnel or officer in charge must inform the person under arrest of his rights (Section 7 (2)). 63. Witnesses in criminal court cases are protected by the special measures under the Witness Protection Act B.E. 2546 (2003), (e.g. cases related with laws on drugs, money laundering, corruption and customs, cases related to national security, sex, organized crime, etc. – Article 8). Samples of witness protection special measures are relocation, change of identities, provision of living allowance, assistance in occupation, education and training. Witnesses can demand their legitimate right to be protected for safety or other actions (Section 10), by also including their next of kin. 64. In the case of persons convicted and sentenced to imprisonment, the Corrections Act B.E. 2479 (1936) defines the power and duties of the Corrections Department in making arrangements for the prisoners, prohibiting use of any instrument of restraint on the inmates, except for special reasons, e.g. tendency to hurt others, mentally disturbed, record of attempted escapes, etc. (Section 14). The Corrections Department also has its own guidelines on treatment towards the prisoners, emphasizing on improvement of their quality of life, promotion of education, elevation of their mental and spiritual health and provision of incentives with an aim to reintegrate these persons back into the society with participation by the society itself. 65. Furthermore, there are special measures to protect the affected persons or the victims who are children under the age of 18 from trauma and mental sufferings caused by the investigation process and court trials under the Criminal Procedure Code (20th Amendment) 1999, especially in the cases of sexual violations and human trafficking, which may involve children of different ethnic groups. These measures also correspond with the protection of children against violence under the Constitution (Section 53). Article 5 (c): Political rights, right to participate in elections, in voting and running for office 66. Exercising the right in elections is a duty of all Thai citizens according to the Constitution. Any person who does not exercise his right to vote in elections without informing of any good reason will lose certain rights as stipulated by the law (Section 68). At the same time, the law provides freedom and liberty for persons to gather and form political parties to build their political ideologies under the Constitutional Monarchy System (Section 47). It also specifies qualifications of persons who can exercise the right to participate in national elections (member of parliament), as follows: (a) Persons who are eligible to vote must have Thai nationality (in case of change of nationality, the person must have been granted Thai nationality no less than 5 years), must be 18 years of age and above, must have names on the Housing Registration Books, and must have resided in the respective constituency for not less than 90 days (Section 105); (b) A person who is eligible to apply as a candidate in general elections must have Thai nationality by birth, must be over 25 years of age, must be a member of a political party for not less than 90 consecutive days, and must have his name on the Housing Registration Book in the province where his application for candidacy is filed for not less than 5 years. There are additional qualifications required for election candidates of the “by constituency” category (Section 107). 67. For elections of Members of Parliament, there are three Supplementary Laws to the Constitution, which specify details on the Election Commission, the Election of Members of the House of Representatives and Senators, and on Political Parties. 68. As for local elections (Tambon Councils and Tambon Administrative OrganisationsTAOs), there are the Act on Tambon Councils and Tambon Administrative Organisations 1994 (as Amended ), and the Act on Election of Members of Local Councils or Local Administrators 2002, which specify qualification requirements for candidates, in the same manner as for national elections, particularly on age and nationality. The candidate must not 34 แจงสิทธินี้ใหผูถูกจับทราบ (มาตรา 7 ทวิ) 63. สิทธิของพยานในคดีอาญาที่จะไดรับการคุมครองตามมาตรการพิเศษที่พระราชบัญญัติคุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 กําหนดไว (เชน คดีเกี่ยวกับกฎหมายยาเสพติด ฟอกเงิน การทุจริต และศุลกากร คดีเกี่ยวกับความมั่นคง คดีเกี่ยวกับเพศ คดีเกี่ยวกับองคกรอาชญากรรม ฯลฯ -มาตรา 8) มี เชน การคุมครองโดยการยายที่อยู ไดรับคาเลี้ยง ชีพ เปลี่ยนชื่อมีอาชีพ ไดรับการศึกษาอบรม เรียกรองสิทธิที่พึงไดรับคุมครองความปลอดภัยหรือดําเนินการอื่นๆ (มาตรา 10) โดยสามารถครอบคลุมบุคคลใกลชิดของพยานไดดวย 64. หากถูกตัดสินลงโทษจําคุก พระราชบัญญัติราชทัณฑ พ.ศ. 2479 กําหนดอํานาจหนาที่ของกรมราชทัณฑในการ บริหารจัดการดูแลผูตองขังไว โดยหามใชเครื่องพันธนาการแกผูตองขังยกเวนมีเหตุพิเศษ เชน อาจทําอันตรายผูอื่น วิกลจริต พยายามหลบหนี ฯลฯ (มาตรา 14) และกรมราชทัณฑก็มีแนวทางปฏิบัติตอผูตองขังโดยมุงเสริมสราง คุณภาพชีวิต สงเสริมการศึกษา พัฒนาจิตใจและสงเสริมสิทธิประโยชนดวยเปาหมายเพื่อคืนคนดีสูสังคมโดยการมีสวน รวมของสังคม 65. นอกจากนี้ มีมาตรการพิเศษเพื่อคุมครองผูเสียหายที่เปนเด็ก (อายุต่ํากวา 18 ป)จากความรุนแรงตอสภาพจิตใจ ในกระบวนการสอบสวนและพิจารณาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 20) พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะในกรณีทางเพศและการคามนุษย ซึ่งผูเสียหายอาจมาจากเด็กของกลุมชาติพันธุ ซึ่งสอดคลองตอการ คุมครองความรุนแรงตอเด็กตามรัฐธรรมนูญดวย (มาตรา 53) ขอ 5 ค) สิทธิทางการเมือง สิทธิการเขารวมในการเลือกตั้ง การลงคะแนนเสียงและสมัครรับเลือกตั้ง 66. การใชสิทธิเลือกตั้งเปนหนาที่ของชนชาวไทยตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ บุคคลที่ไมไปใชสิทธิเลือกตั้งโดยไมแจงเหตุ อันสมควร ตองเสียสิทธิบางประการตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา 68) พรอมกันนี้ก็บัญญัติสิทธิเสรีภาพของบุคคลใน การรวมกันจัดตั้งพรรคการเมืองเพื่อสรางเจตนารมณทางการเมืองตามวิถีทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปน ประมุข (มาตรา 47) รวมทั้งบัญญัติคุณสมบัติของผูใชสิทธิเขารวมในการเลือกตั้งระดับชาติ (สมาชิกรัฐสภา) คือ (ก) ผูมีสิทธิเลือกตั้ง ตองมีสัญชาติไทย (กรณีแปลงสัญชาติตองไดรับสัญชาติไทยมาแลวไมนอยกวา 5 ป) มีอายุ ไมต่ํากวา 18 ปบริบูรณ มีชื่อในทะเบียนบานในเขตเลือกตั้งไมนอยกวา 90 วัน (มาตรา 105) (ข) ผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ตองมีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไมต่ํากวา 25 ปบริบูรณ เปนสมาชิกพรรค การเมืองเพียงพรรคเดียวติดตอกันไมนอยกวา 90 วัน และตองมีชื่อในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครไมนอยกวา 5 ป โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมสําหรับผูสมัครแบบแบงเขต (มาตรา 107) 67. ในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญกําหนดรายละเอียดที่สําคัญอีก 3 ฉบับ ที่วา ดวยคณะกรรมการเลือกตั้ง วาดวยคณะกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาและวาดวย พรรคการเมือง 68. สวนการเลือกตั้งในระดับทองถิ่น (สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล - อบต.) มีพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 (และฉบับแกไขเพิ่มเติม) และพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภา ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2545 ที่กําหนดคุณสมบัติเชนเดียวกับระดับชาติในเรื่องอายุและสัญชาติ โดยตองไม 35 be a civil servant or official of any government organization, and must have his name on the Housing Registration Book for a consecutive period of not less than 1 year up to the day of application. 69. Persons belonging to ethnic groups in Thailand, who have Thai nationality and have all other qualifications as specified by the law can exercise their right to vote in elections as Thai citizens. The government sector has made a serious effort to advocate and facilitate their exercising of this right, aiming to reach 100%. 70. However, regarding the right to apply as a candidate in local elections, candidates whose fathers are aliens must meet the same additional qualifications, in the same manner as for national elections, namely that the candidate must have Thai nationality by birth. This has been a problematic issue in many areas, since a lot of persons belonging to ethnic groups who seek Thai nationality through naturalization (rather that the acquisition of the nationality by birth) are not eligible to run for the election. This is the case even though they were born, grew up and have always lived in their respective localities. Therefore, a suggestion has been made for revision of laws concerning specification of qualification requirements for candidates in local elections. 71. The Thai people’s right to participate in politics and administration has gradually improved. The Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540 (1997) specifies the people’s right to participate in politics and administration, stating that people who are eligible to vote in general elections to elect members of the House of Representatives can vote in referendum on issues that affect the country’s interest, or gather signatures to propose a new law or to remove someone from his position (Sections 214, 170, 304). The same right applies at the local level, with additions on increased people’s participation and power and duties of the local administrative bodies. People have the right to gather signatures to remove a person from position or to propose a local decree (Sections 286– 287). Local administrative organizations have additional power and duty to take charge of and participate in scrutinizing any project that may have effects on the living of the people both in and outside their areas. 72. The Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007) adds a chapter on Policy Guideline for People’s Political Participation in setting economic policies, making political decisions, monitoring/examining the use of state authority. An organized network of people can express their opinion and propose the need of the community (Section 87). Direct people’s participation in politics includes the right to propose a new law, to propose removal of a person from position, and to vote in referendum (Sections 163–165). Participation of people in local administration includes the right to vote to remove a person from position, to propose a local decree, to speak out and examine the local administration affairs (Sections 285–287). 73. In practice, the first referendum was carried out on 19 August 2007. It was a referendum to adopt the draft of The Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007). The result of the referendum was in favour of the draft. (Ratio between In Favour: Not In Favour is 57.81: 42.19) The Thai people’s exercise of their rights to participate, to rally and hold peaceful demonstrations and to protest in a peaceful manner can result in major changes in the country’s administration. This was evident in several past incidents where massive demonstrations had direct consequences and resulted in significant changes in the direction of the country’s administration and the administrators. This also intensified improvement of the concerned policies and implementation guidelines towards the stakeholders. And, as for the role of ethnic groups, there were the rally by the network of The Ethnic People’s Assembly during 1999–2000 and the meetings with the networks of other groups of people to demand revision of laws and regulations. This influenced the government’s commitment towards equality in regard to the right to development, which resulted in positive changes in many areas, which proved to be beneficial to the ethnic groups. 36 เปนขาราชการหรือพนักงานองคการของรัฐ และมีชื่อในทะเบียนบานมาแลวเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา 1 ปนับถึง วันเลือกตั้ง/วันสมัคร 69. กลุมชาติพันธุในประเทศไทย ที่มีสัญชาติไทยและมีคุณสมบัติประกอบอื่น ๆ ครบถวนตามที่กฎหมายกําหนดยอม ใชสิทธิเลือกตั้งไดในฐานะพลเมืองของประเทศ และภาครัฐพยายามรณรงคและอํานวยความสะดวกอยางจริงจังใหมี การไปใชสิทธิดวยเปาหมายถึง 100% 70. อยางไรก็ตาม ในเรื่องสิทธิในการสมัครรับเลือกตั้งระดับทองถิ่น ผูสมัครที่มีสัญชาติไทยซึ่งบิดาเปนคนตางดาวตอง มีคุณสมบัติเพิ่มเติมเชนเดียวกับผูสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรคือตองมีสัญชาติไทยโดยการเกิดดวยนั้น ไดปรากฏเปนปญหาในพื้นที่หลายแหงเนื่องจากมีบุคคลของกลุมชาติพันธุจํานวนมากซึ่งไดสัญชาติไทยภายหลัง (เนื่องจากกระบวนการไดรับสัญชาติมีขั้นตอนยาวนาน) และบุตรของบุคคลกลุมนี้ตองเสียสิทธิในการสมัครเขารับ เลือกตั้งเปนผูบริหารทองถิ่นของตนเอง (อบต.) ถึงแมจะเกิด เติบโตและอยูอาศัยในพื้นที่นั้นตลอดมา จึงมีขอเสนอให ทบทวนกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งในการกําหนดคุณสมบัติของผูสมัครรับเลือกตั้งในระดับทองถิ่น 71. สิทธิการมีสวนรวมของประชาชนในการเมืองการปกครองไดพัฒนาขึ้นเปนลําดับตามรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กําหนดสิทธิการมีสวนรวมของประชาชนในการเมืองการปกครองโดยประชาชนผูมีสิทธิ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสามารถออกเสียงลงประชามติในเรื่องที่มีผลกระทบตอประเทศชาติ หรือเขาชื่อกัน เสนอกฎหมาย เขาชื่อกันเสนอถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง (มาตรา 214 , 170, 304) ในระดับทองถิ่นก็เปนไปใน ทํานองเดียวกัน โดยเพิ่มทั้งการมีสวนรวมของประชาชนและอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมากขึ้น ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อ เสนอถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงและออกขอบัญญัติทองถิ่น (มาตรา 286 - 287) องคกร ปกครองสวนทองถิ่นมีอํานาจหนาที่เพิ่มเติมในการรักษาดูแลและรวมพิจารณาโครงการที่อาจมีผลกระทบตอการ ดํารงชีวิตของประชาชนที่ทั้งในและนอกเขตพื้นที่ 72. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพิ่มหมวดแนวนโยบายการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ในการกําหนดนโยบายดานเศรษฐกิจ ตัดสินใจทางการเมือง ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐเครือขายที่รวมตัวกันสามารถ แสดงความคิดเห็นและเสนอความตองการของชุมชน (มาตรา 87) การมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชนที่ สามารถดําเนินการได คือ การเสนอกฎหมาย การเสนอใหถอดถอนบุคคล และออกเสียงประชามติ (มาตรา 163-165) การมีสวนรวมในราชการสวนทองถิ่น คือลงคะแนนเสียงถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง เสนอใหออกขอบัญญัติ ทองถิ่น ออกเสียงและตรวจสอบการบริหารกิจการทองถิ่น (มาตรา 285-287) 73. ในทางปฏิบัติ การออกเสียงประชามติครั้งแรกไดดําเนินการเมื่อ 19 สิงหาคม 2550 เปนการออกเสียงประชามติ รับรองรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และผลการลงประชามติคือเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญ (อัตราสวนเห็นชอบ : ไมเห็นชอบ คือรอยละ 57.81:42.19) การใชสิทธิการมีสวนรวม การชุมนุมและการตอตานโดย สันติวิถีของประชาชนไทย มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการบริหารประเทศหลายครั้ง ดังปรากฏการชุมนุมใหญที่สงผลให เกิดความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญตอแนวทางการบริหารและผูบริหารประเทศ ตลอดจนการเรงรัดปรับปรุงนโยบายและ แนวปฏิบัติตอกลุมบุคคลผูมีสวนไดสวนเสียโดยตรงมาแลวหลายครั้งในประวัติศาสตร และสําหรับกลุมชาติพันธุการ ชุมนุมของเครือขายสมัชชาชนเผา ในชวงป 2542-2543 และประชุมรวมกับเครือขายประชาชนอื่นๆ เพื่อเรียกรองให แกไขกฎหมายและกฎระเบียบตลอดจนการปฏิบัติของทางราชการเพื่อความเสมอภาคในการใชสิทธิในการพัฒนาก็ กอใหเกิดผลในทางที่เปนประโยชนแกกลุมชาติพันธุตางๆ หลายเรื่อง 37 Article 5 (d): Other civil rights 5 (d) (i): Right to freedom of movement and to reside in the territory of the State and 5 (d) (ii): Right to leave any country, including one’s own, and to return to one’s own country 74. The Constitution stipulates that every person has the liberty to travel and the liberty to choose a locality to live in the kingdom. Expulsion of a Thai national out of the kingdom or barring entry of a Thai national into the kingdom is not allowed (Section 36). And every person has the liberty in his/her own home, and has the right to protection of his/her property and live in his/her home peacefully (Section 35). 75. Thailand sets no restriction on moving or changing domicile. Every Thai citizen can freely choose a locality to live, by the Constitution, and the Civil and Commercial Code (Sections 37–42) that endorse this right. 76. The Immigration Act B.E. 2522 (1979), the law that controls travel into and out of Thailand, stipulates that legal travel into and out of the country depends upon the presentation of legitimate passports, and can be done freely by both Thais and foreigners. As for foreigners, the law allows a person with an entry-exit visa permission to stay in the country according to the period permitted. Prohibitions are imposed on certain categories of persons, e.g. persons without sufficient means to live, persons with mental disorder, persons with serious contagious disease, persons with record of behavioural traits that may be harmful to other people, or with behaviour that leads to belief that their entry to the kingdom is for girl or child prostitution, or drug trafficking, etc. or to conduct activities that undermine state security or are in conflict with the public morality (Section 12). However, exceptions can be made on a case by case basis, by the authority of the Minister (Section 17), or the Officer in charge can grant permission to stay for a temporary period, on ground that the person is a victim of human trafficking according to Section 12 (8) (Section 19). 77. Limitations of travel, however, apply to persons/immigrants who enter Thailand without proper compliance with the Immigration Act. For example, those who enter without passports or by using fake documents, those who overstay in the kingdom longer than the period permitted, or those who use false identities of others. Other categories covered by the law include persons who have been granted special permission to stay for a temporary period, such as ethnic groups on the highlands who have not had status identification in the past, or other ethnic groups who fall into the category of being confined to stay in their localities, and need to seek permission should they wish to travel out of their locality. This condition will be removed once these people are granted Thai nationality. Thailand still has a large number of persons who face problems about nationality and status identification, which the government is earnestly solving. For immigrants to reside in localities in Thailand, yearly permission of stay can be granted under the quota of not more than 100 persons per country, and not more than 50 persons per country for persons without nationality (Section 40). Alien persons who wish to reside in the Kingdom of Thailand must submit their requests, using the forms set by the Ministerial Regulations. Authority to grant permission is of the Immigrants Selection Committee (established under Section 6), with the Minister’s consent and approval (Section 41). Then the Certificate of Residence can be issued to them (Section 47). 78. The statistics of the Immigration Office each year shows that Thailand has approximately 20 million people traveling into and out of the country. There are around 300–400 aliens who file requests to reside in Thailand in a year. (Data in Table 5) Yet there are still a number of illegal immigrants that cannot be clearly accounted for. 5 (d) (iii): Right to nationality 79. Thailand faces the challenge of determining the status and rights of persons for certain groups of people belonging to ethnic groups. This is regarded a significant problem of top priority. In regard to article 1, paragraph 2, and article 1, paragraph 3, of the Convention, which are linked to the issue of nationality, all concerned parties have not 38 ขอ 5(ง) สิทธิพลเมืองอื่นๆ 5(ง ((1) สิทธิในการมีเสรีภาพในการโยกยายและการพํานักอาศัยภายในเขตแดนของรัฐ 5(ง ((2) สิทธิในการเดินทางออกจากประเทศหนึ่งประเทศใดรวมทั้งประเทศของตน และกลับคืนมายัง ประเทศตน 74. รัฐธรรมนูญกําหนดวา บุคคลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยูภายในราชอาณาจักร การเนรเทศบุคคลผูมีสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือหามมิใหบุคคลผูมีสัญชาติไทยเขามาในราชอาณาจักรจะ กระทํามิได (มาตรา 36) และบุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถานและไดรับความคุมครองในการที่จะอยูอาศัยและ ครอบครองเคหสถานโดยปกติสขุ (มาตรา 35) 75. ประเทศไทย ไมมีการหามการโยกยายถิ่นที่อยู ประชาชนไทยสามารถเลือกถิ่นพํานักอาศัย หรือภูมิลําเนาไดโดย เสรีตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไวโดยมีประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย วาดวยภูมิลําเนา รับรองสิทธิเรื่องนี้ไว (มาตรา 37-42) 76. พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ.2522 ซึ่งเปนกฎหมายควบคุมการเดินทางเขา -ออกประเทศไทย กําหนดใหการ เดินทางเขาออกประเทศที่ถูกตองตามกฎหมาย ตองมีหนังสือเดินทางที่ถูกตองตามกฎหมาย และสามารถทําไดเสรีทั้ง คนไทยและชาวตางประเทศ สําหรับชาวตางประเทศ อนุญาตใหบุคคลที่มีการตรวจลงตราอนุญาตเขา -ออกเมือง ภายในราชอาณาจักรไดตามระยะเวลาที่กําหนด โดยอาจมีขอหามสําหรับบุคคลบางประเภท เชน ไมมีปจจัยยังชีพ วิกลจริต มีโรคติดตอรายแรง มีพฤติการณอันนาจะเปนภัยตอสังคม หรือมีพฤติการณอันเปนที่นาเชื่อวาเขามาเพื่อ การคาประเวณีคาหญิงหรือเด็ก คายาเสพติด ฯลฯ หรือประกอบกิจการที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน (มาตรา 12) แตอาจมีการยกเวนเปนกรณีพิเศษเฉพาะเรื่องได โดยอํานาจของรัฐมนตรี (มาตรา 17) หรือพนักงานเจาหนาที่อาจอนุญาตใหอยูไดชั่วคราว ในกรณีเปนบุคคลที่ตกเปนเหยื่อการคามนุษย ตามมาตรา 12 (8) (มาตรา 19) 77. อยางไรก็ตาม บุคคลผูเขาเมืองโดยไมปฏิบัติโดยถูกตองตามกฎหมายคนเขาเมือง เชน ลักลอบเขาเมืองโดยไมมี หนังสือเดินทาง ใชเอกสารปลอมแปลง อยูเกินกวาระยะเวลาที่ไดรับอนุญาต หรือสวมตัวแทนผูอื่น ตลอดจนบุคคลที่ ไดรับอนุญาตเปนกรณีพิเศษใหอยูเปนระยะเวลาชั่วคราวเชน กลุมชาติพันธุบนที่สูงที่ยังไมมีสถานะบุคคลในอดีต และ กลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่เขาขายตองถูกจํากัดพื้นที่ ตองขออนุญาตเมื่อจะออกนอกพื้นที่ แตเมื่อไดสัญชาติไทยเงื่อนไขนี้จะ หมดไป ทั้งนี้ประเทศไทยยังมีบุคคลที่ประสบปญหาเรื่องสัญชาติและสถานะบุคคลอีกเปนจํานวนมากที่รัฐกําลังเรง แกไข การเขามามีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร มีการอนุญาตเปนรายป โดยไมเกินประเทศละ 100 คนตอป และสําหรับ คนไรสัญชาติไมเกิน 50 คนตอป (มาตรา 40) โดยคนตางดาวที่จะเขามามีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรจะตองยื่นคําขอ ตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง และการอนุญาตเปนอํานาจของ คณะกรรมการพิจารณาคนเขาเมือง (ซึ่งตั้งตาม มาตรา 6) และดวยความเห็นชอบของรัฐมนตรี (มาตรา 41) แลวจึงจะไดรับใบสําคัญถิ่นที่อยู (มาตรา 47) 78. ในแตละปขอมูลของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองแสดงวา ประเทศไทยมีคนเดินทางเขา -ออก ปละประมาณ 20 ลานคน มีคนตางดาวยื่นคําขอเขามามีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรปละประมาณ 300-400 คน (ขอมูลตามตารางที่ 5) แต ยังมีผูเขาเมืองผิดกฎหมายอีกจํานวนหนึ่งที่ไมสามารถระบุขอมูลไดชัดเจน 5ง ((3) สิทธิในการครองสัญชาติ 79. ประเทศไทยมีปญหาเรื่องสิทธิในสถานะบุคคลของกลุมชาติพันธุซึ่งถูกจัดเปนปญหาสําคัญลําดับสูงสุด แมจะมี ขอยกเวนตามขอ ของอนุสัญญา แตดวยความตระหนักถึงสิทธิของพลเมืองผูเกี่ยวของทุกฝายมิไดละเลย (3 (2 1 39 neglected the problem, but have seriously and continuously made collective effort to push for solutions to this problem, with strong awareness about civil rights. The parties concerned are from the three pillars of power, the Executive Branch, the Legislature and the Judiciary, as well as educational institutions, non-governmental organizations and community-based organizations. This corresponds with the general recommendation No. 30 adopted by the Committee on the Elimination of Racial Discrimination. Below are some examples. 80. The enactment of the Nationality Act (4th Amendment) B.E. 2551 (2008), which entered into force on 28 February 2008: • Jus Sanguinis (Attainment of nationality by blood principle); persons born from either a father or a mother who has Thai nationality, whether born in or outside Thailand, will be granted Thai nationality. “Father” here also means the person who can prove that he is the father of the child, even though the person has not registered the marriage with the mother, and has not registered his acceptance of the child. • Special Provision for a person who cannot acquire Thai nationality, namely, a person whose father and mother are foreigners, and at the time of the person’s birth, the legal father or the father who did not register the marriage to the mother, or the mother who was allowed to reside in Thailand as a special case, or was allowed to stay in Thailand temporarily, or was a person who came into Thailand without permission. In this case of the person who does not acquire Thai nationality by birth, even though he/she was originally held to be a person who came into Thailand without permission, such person may stay in Thailand under whatever status or condition stipulated by the Ministerial Regulations, with due consideration to national security and human rights. • The new Nationality Act also grants back Thai nationality to persons who used to hold Thai nationality because they were born in Thailand, but their nationality was revoked by the Decree of the Revolution Party, No. 337 (1972) because they were born to parents who were alien persons who had illegally entered Thailand, and for the reason of protecting national security at the time. If those persons can present civil registration proof that they have really resided in Thailand for a long consecutive period of time, they are granted Thai nationality, effective from the date this law came into force. Moreover, the procedures and steps in applying for nationality have been intensified. People who wish to apply can submit their requests to the District Registrar or the local Registrar immediately. 81. The enactment of the Civil Registration Act (2nd Amendment) 2008, which entered into force on 24 July 2008, has made revisions on birth registration to make it clearer and more outreaching to cover all groups of people. In case of receiving birth reports, the Registrar can register and issue birth certificates on the spot. This same process applies to registering births of street children, abandoned children, children with unknown parents, or children without nationality. Under this new law, Household Registration Books will be issued to persons without nationality, as a means to give the right to birth registration to all groups of children, for the acceptance of their status and initial existence, which will lead to their eligibility to other basic rights. A very important sample case of attaining the right to hold nationality is of the people of Mae Ay District who were overlooked by the population census survey. (See details in annex IV.) 82. Apart from the Nationality Act and the Civil Registration Act, there is the Strategy to Address the Problem of Status and Rights of Persons, adopted by the Cabinet on 18 January 2005, aiming to speed up the solution of the problem of status of persons. It determines the status of the group of persons without clear status, so that they can access basic rights, lead their lives and participate in the country’s development to their full potentials. Under this strategy, policies and guidelines have been laid down to protect the rights of these people and solve their problems. It also aims to adjust the attitude and provide assurance and security to state officials with honest conduct in performing their duties to reduce opportunities for exploitation, and to prevent new immigration of persons without status. Four strategies have been utilized: 40 มีความพยายามรวมกันผลักดันแกไขปญหาเรื่องนี้อยางจริงจังตอเนื่องทั้งจากฝายบริหาร ฝายนิติบัญญัติและฝายตุลา การ ตลอดจนสถาบันวิชาการ องคการเอกชนและองคการชุมชน ซึ่งสอดคลองกับขอเสนอแนะทั่วไปที่รับรองโดย คณะกรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติของสหประชาชาติขอที่ 30 ตัวอยางเชน 80. การออก พ.ร.บ. สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 28 กุมภาพันธ 2551 ไดแกไข เพิ่มเติมเรื่องการไดสัญชาติ ดังนี้ - การไดสัญชาติโดยหลักสายโลหิตโดยเปนผูที่เกิดจากบิดาหรือมารดาซึ่งมีสัญชาติไทย ไมวาจะเกิดในหรือนอก ราชอาณาจักร ทั้งนี้ บิดาใหหมายรวมถึงผูซึ่งพิสูจนไดวาเปนบิดาของผูเกิดแมผูนั้นจะเปนบิดาที่ไมไดจดทะเบียนสมรส กับมารดาและไมไดจดทะเบียนรับรองบุตร - ผูที่ไมไดสัญชาติไทยเพราะบิดาและมารดาเปนคนตางดาว และขณะเกิดบิดาตามกฎหมายหรือบิดาที่ไมได สมรสกับมารดาของผูนั้น เปนผูที่ไดรับการผอนผันใหพักอาศัยในราชอาณาจักรไทยเปนกรณีพิเศษ หรือไดรับอนุญาต ใหเขาอยูในราชอาณาจักรไทยเปนการชั่วคราว หรือเปนผูเขามาอยูในราชอาณาจักรไทยโดยไมไดรับอนุญาต ใหผูที่ ไมไดรับสัญชาติไทยโดยการเกิดนั้น จะอยูในประเทศไทยในฐานะใด ภายใตเงื่อนไขใด ใหเปนไปตามกฎกระทรวงโดย คํานึงถึงความมั่นคงแหงราชอาณาจักร และสิทธิมนุษยชน ซึ่งเดิมใหถือวาเปนผูเขามาอยูในราชอาณาจักรไทยโดย ไมไดรับอนุญาต - พ.ร.บ. ยังไดกําหนดใหคืนสัญชาติแกบุคคลที่เคยมีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทย แตถูกถอน สัญชาติไทยตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 (พ.ศ. 2515) เนื่องจากมีบิดามารดาเปนคนตางดาวเขาเมืองโดย ผิดกฎหมาย ดวยเหตุผลเพื่อการปองกันและรักษาความมั่นคงของชาติในขณะนั้น ถาบุคคลผูนั้นอาศัยอยูจริงใน ราชอาณาจักรไทยติดตอกันโดยมีหลักฐานทางทะเบียนราษฏร ใหไดสัญชาติไทยตั้งแตวันที่ พ.ร.บ. นี้มีผลใชบังคับ รวมทั้งไดเรงรัดขั้นตอนการขอสัญชาติ โดยสามารถยื่นขอลงรายการสัญชาติตอนายทะเบียนอําเภอหรือนายทะเบียน ทองถิ่นไดทันที 81. การออก พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 24 กรกฎาคม 2551 ได แกไขใหการจดทะเบียนเกิดมีความชัดเจนและครอบคลุมกลุมคนทุกกลุม กรณีมีผูมาแจงการเกิด ใหนายทะเบียนรับ แจงการเกิด และออกสูติบัตรรวมถึงการแจงการเกิดของเด็กเรรอน หรือเด็กที่บุพการีทอดทิ้ง หรือเด็กที่ไมปรากฏ บุพการี หรือเด็กไมมีสัญชาติไทย ตลอดจนการจัดทําทะเบียนบานสําหรับคนซึ่งไมมีสัญชาติไทย อันถือเปนการใหสิทธิ การจดทะเบียนแกเด็กทุกกลุมเพื่อการยอมรับสถานะ การมีตัวตนขั้นแรกของเด็ก อันนําไปสูสิทธิพื้นฐานในดานตางๆ ตอไป กรณีตัวอยางที่สําคัญของการไดมาซึ่งสิทธิในการถือครองสัญชาติคือกรณีชาวอําเภอแมอายที่ตกสํารวจทาง ทะเบียนราษฎร (ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก 3 ) 82. นอกจากการออก พ.ร.บ. สัญชาติ และ พ.ร.บ. ทะเบียนราษฎรแลว ยังมียุทธศาสตรการจัดการปญหาสถานะและ สิทธิของบุคคล ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548 มีวัตถุประสงคเพื่อเรงรัด กําหนดสถานะใหแกกลุมบุคคลที่ไมมีสถานะชัดเจนใหสามารถเขาถึงสิทธิมนุษยชนพื้นฐานและมีสวนรวมในการพัฒนา ประเทศไดตามศักยภาพ วางระบบและแนวทางการคุมครองสิทธิและแกปญหาของบุคคลเหลานี้ ปรับทัศนคติและ สรางหลักประกันใหเจาหนาที่ที่สุจริตไดมั่นใจในการปฏิบัติงาน ลดโอกาสแสวงประโยชน และปองกันการอพยพเขามา ใหม ใชแนวดําเนินการ 4 ยุทธศาสตร คือ 41 (a) Strategy on Status Determination – for people who took shelter in Thailand, by giving them the right to convert to Thai nationality and granting Thai nationality to their children born in Thailand; to grant status to the legal alien persons and the right to reside in Thailand for a temporary period, etc., with due consideration to what is appropriate and harmonious to the circumstances of the target children, persons who are studying in Thailand’s educational institutions, rootless persons, persons who are beneficial to the country, alien labourers and other alien persons; (b) Strategy on Provision of Basic Rights to the persons with status and rights problem, to enable them to make their living; (c) Strategy on Proactive and Creative Implementation to prevent new immigration, by cooperating with the neighbouring countries in human resource and community development in the border areas, and to encourage international organizations to play a role in helping to develop the quality of life of the people in the origin countries. At the same time, the strategy imposes stricter measures in preventing new illegal immigrants and in registration control; (d) Strategy on Administration, prompting the National Security Council, as the main directing agency, to work with other concerned agencies and special task forces to speed up the scrutinizing of granting status to the certain groups of people that have status problem, with an aim to solve the status problem of people on the highlands, people in the border areas, rootless persons and displaced persons who flee from fighting and death. The strategy lays down work plans/projects, links data network, adjusts the attitude of all parties concerned including the neighbouring countries, sets direction for administration and strict law enforcement, sets priority for the implementation, builds participation from all sectors, and conducts systematic monitoring and evaluation. It aims at the six target groups of people with status problems: (i) People who have originally lived in Thailand, mostly the hill tribes that went unsurveyed from the population census survey, totaling 90,739 persons. The majority of these people have been given status and Thai nationality in their Household Registration Books, with only remaining 2,800 persons to be addressed; (ii) People who sought shelter from outside Thailand, have lived in Thailand for a long time and have conducted good deeds beneficial to the authorities, totaling 180,000 persons. One third of these have been given status, with the remaining 120,000 persons to be addressed; (iii) Migrant workers as illegal immigrants (Burma/Myanmar, Laos, Cambodia) totaling 1,200,000 persons; (iv) Rootless persons; (v) People who have status problem and are students in Thailand’s educational institutions, totaling 60,000 persons; (vi) Migrant workers who have registered but have not undergone status identification procedures. 83. Progress of the implementation under the strategy in 2006 is as follows. Status specification 84. The groups of people for whom the government has policy to specify permanent residence status are ethnic groups, and the illegal immigrants who have been granted the status of alien persons entering Thailand legally and have converted to Thai nationality. Approximately 10,500 persons in the two mentioned groups have had their status specified, and around 170,000 of them have been granted Thai nationality. (Their children born in Thailand will be granted Thai nationality under the Nationality Act and other relevant laws.) As for the remaining persons who have submitted their applications, their cases are undergoing the procedures in the process, while there are a number of them who have not submitted their applications. 42 (ก) ยุทธศาสตรการกําหนดสถานะสําหรับคนที่อพยพเขามาในประเทศ ดวยการให สิทธิแปลงสัญชาติเปนไทย ใหสัญชาติแกบุตรที่เกิดในประเทศไทย ใหสถานะคนตางดาวที่ ถูกตองตามกฎหมาย ใหสิทธิอาศัยอยูในประเทศชั่วคราว ฯลฯ ตามความสอดคลองและ เหมาะสมกับสถานภาพแกเด็กและบุคคลที่เรียนอยูในสถานศึกษาของประเทศ บุคคลไร รากเหงา บุคคลที่มีคุณประโยชนแกประเทศชาติ แรงงานตางดาวและคนตางดาวอื่น ๆ (ข) ยุทธศาสตรการใหสิทธิขั้นพื้นฐานแกบุคคลที่มีปญหาสถานะและสิทธิ ใหสามารถ ดํารงชีวิตอยูได (ค) ยุทธศาตรการดําเนินการเชิงรุกและสรางสรรค ปองกันการอพยพเขามาใหม โดย ประสานความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการพัฒนาคนและชุมชนชายแดน ใหองคการ ระหวางประเทศใชบทบาทหนาที่ชวยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในประเทศตนทาง เพิ่มความเขมงวดในการสกัดกั้นผูอพยพใหมที่ไมถูกตอง และการควบคุมทะเบียน (ง) ยุทธศาสตรการบริหารจัดการ กําหนดใหสภาความมั่นคงแหงชาติ หนวย อํานวยการหลักทํางานรวมกับหนวยงานเกี่ยวของและคณะทํางานเฉพาะกิจเรงพิจารณาให สถานะเพื่อแกปญหาบุคคลบนพื้นที่สูง พื้นที่ชายแดน บุคคลไรรากเหงาและผูลี้ภัยความตาย มีแผนงาน/โครงการ เครือขายเชื่อมโยงขอมูล ปรับทัศนคติทุกฝายที่เกี่ยวของ และประเทศ เพื่อนบาน วางแนวทางบริหารจัดการ บังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง จัดลําดับความสําคัญ การดําเนินงาน สรางการมีสว นรวมจากทุกภาคสวน และติดตามประเมินผลอยางเปนระบบ และตอเนื่อง โดยมุงดําเนินการกับกลุมคนที่มีปญหาสถานะบุคคล 6 กลุม ไดแก (1) กลุมที่อาศัยอยูดั้งเดิมในประเทศสวนใหญเปนชาวเขาอพยพตกสํารวจจํานวน 90,739 คน ไดสัญชาติไทยในทะเบียนบานแลวคงเหลือประมาณ 2,800 คน (2) กลุมที่อพยพมาจากนอกประเทศอยูมานานและทําคุณประโยชนใหราชการ จํานวน 180,000 คน สวนหนึง่ ไดรบั สถานะแลวคงเหลือ 120,000 คน (3) แรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง (พมา ลาว กัมพูชา) 1,200,000 คน (4) กลุมคนไรรากเหงา (5) กลุมบุคคลที่มีปญหาสถานะ และอยูในสถานศึกษาไทย 60,000 คน (6) แรงงานตางดาวที่ขึ้นทะเบียนแลวแตไมผานการพิสูจนสถานะ 83. ความกาวหนาในการดําเนินงานตามยุทธศาสตรในป 2549 คือ การกําหนดสถานะ 84. กลุมที่มีนโยบายในการกําหนดสถานภาพใหอาศัยอยูในประเทศไทยอยางถาวร คือ กลุมชาติพันธุและผูเขา เมืองผิดกฎหมายที่ไดรับสถานะเปนบุคคลตางดาวเขาเมืองโดยชอบดวยกฎหมายและแปลงสัญชาติเปนไทย ไดรบั สถานะ แลวประมาณ 10 ,500 คน และไดรับสัญชาติไทยประมาณ 170 ,000 คน (บุตรที่เกิดในประเทศไทยจะไดรับสัญชาติไทย ตาม พรบ.สัญชาติและกฎหมายที่เกี่ยวของ) ที่เหลืออยูในกระบวนการตามขั้นตอน และสวนหนึ่งยังไมมาแสดงตนยื่นคํา รอง 43 85. The groups of people for whom the government has policy to grant temporary residence status, both officially and unofficially: (a) Compile history record, issue identification cards, and designate an area to live for the group that have been permitted a temporary stay officially while waiting for their status specification, totaling around 520,000 persons, mainly illegal immigrants from Burma/Myanmar and persons on the highlands who have entered Thailand after 1976 and 1985; (b) Measures to permit temporary stay unofficially for the groups of people who entered Thailand from neighbouring countries, including displaced persons, illegal immigrants, the National Salvation Movement, displaced Thais, persons who have contributed to the Royal Thai Government, and persons who went unsurveyed from the population census survey. 86. Implementation regarding civil registration and improvement of state laws and regulations to solve the problem about status of persons at a more progressive level includes intensifying extensive birth registration of all children born on Thailand’s land according to the law on civil registration, i.e. The Civil Registration Act B.E.2534 (1991). With impetus from both the public and private sectors, as well as international organizations in Thailand, the implementation measures include forms of research study, data compilation and dissemination, ideas and concepts extracted from meetings and seminars. These have resulted in the issuance of regulations on registering the status of persons in the civil registration according to the law to cover more groups of people every year. Under the Regulation of the Central Registration Office Concerning Recording of the Status of Persons in the Civil Registration for the Variety Group of Persons, the arrangements are per year according to the planned schedule, for example: Year 2000 Listing status of persons and registering communities on the highlands Year 2002 Birth registration of abandoned children Year 2003 Birth registration of children in the shelter for displaced persons who fled fighting Year 2004 Birth registration of children of migrant workers (of Burmese, Laotian and Cambodian nationality) who were born in Thailand Year 2005 Arrangement of registration for persons without registration status, by the Regulations of the Central Registration Office on Arrangement of Registration for Persons Without Registration Status 2005, for persons without registration status who reside in localities in Thailand, but are not listed in the Household Registration (TR 13 – Household Registration for Legal Immigrants on Temporary Residence Permit, or Illegal Immigrants by the Immigration Act; TR 14 – Household Registration for Thai Citizens and Alien Persons with Alien Identification Papers), due to lack of proof of origin of birth or personal history record. The names of these persons will be added in the Civil Registration, and their children born in Thailand will be registered and issued with Birth Certificates, using the form TR 031, with their names appearing in the same History Record Registration Book as of their parents (TR 38 A) Year 2007 On the auspicious occasion of the 80th Birthday Anniversary of His Majesty the King, a project was initiated to commemorate the occasion to grant legal status to Thai persons not listed in the Household Registration, by attending to their reporting and facilitating them with assistance in tracing for proof and in the investigation process in order that their names can be added, or that overdue registration of births can be accepted, so that their names will appear in the Civil Registration Book legitimately 44 85. กลุมที่มีนโยบายกําหนดสถานภาพใหอาศัยอยูในประเทศไทยในลักษณะชั่วคราวทั้งอยางเปนทางการและไมเปน ทางการ (1) จัดทําทะเบียนประวัติ บัตรแสดงตน และกําหนดพื้นที่อยูอาศัย ใหกับกลุมที่ใหอยูชั่วคราวอยางเปนทางการ ระหวางรอการพิสูจนทราบสถานะประมาณ 520,000 คน เปนผูหลบหนีเขาเมืองจากพมาและบุคคลบนพื้นที่สูงที่เขา มาหลังป 2519 และ 2528 (2) ผอนผันใหอาศัยอยูอยางไมเปนทางการ สําหรับกลุมที่มาจากประเทศเพื่อนบานมีทั้งผูอพยพ ผูหลบหนีเขา เมือง ขบวนการกูชาติ คนไทยพลัดถิ่น ผูที่เคยทําคุณประโยชนใหทางราชการและผูตกคางสํารวจ 86. การดําเนินการดานทะเบียนราษฎรและการปรับแกไขกฎหมายและกฎระเบียบของรัฐเพื่อแกไขปญหาสถานะ บุคคลในขั้นตอนที่กาวหนายิ่งขึ้น คือ 1) เรงรัดใหมีการจดทะเบียนการเกิดทั่วถึงใหกับเด็กทุกคนที่เกิดบนแผนดินไทยตามกฎหมายการทะเบียน ราษฎรคือพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 โดยการผลักดันทั้งจากภาครัฐ เอกชนและองคการระหวาง ประเทศในไทยทั้งในรูปแบบการศึกษาวิจัย การประมวลขอมูลและเผยแพรแนวคิดผานการประชุมสัมมนาตางๆ จน สงผลใหมีการออกระเบียบการลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรตามกฎหมายใหครอบคลุมบุคคลกลุมตางๆ เพิ่มขึ้นในแตละป โดยอาศัยระเบียบสํานักทะเบียนกลางวาดวยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลแตละกลุมแตละ ปตามระยะเวลาที่จัดทํา เชน ป 2543 การลงรายการสถานะบุคคลและทะเบียนชุมชนบนพื้นที่สูง ป 2545 การจดทะเบียนเกิดเด็กถูกทอดทิ้ง ป 2546 การจดทะเบียนการเกิดของเด็กในพื้นที่พักพิงของผูหนีภัยจากการสูรบ ป 2547 การจดทะเบียนการเกิดบุตรแรงงานตางดาว (สัญชาติพมา ลาว และกัมพูชา) ที่เกิดในประเทศไทย ป 2548 การจัดทําทะเบียนสําหรับบุคคลที่ไมมีสถานะทางทะเบียนโดยระเบียบสํานักทะเบียนกลางวาดวยการ สํารวจและจัดทําทะเบียนสําหรับบุคคลที่ไมมีสถานะทางทะเบียน พ.ศ. 2548 สําหรับบุคคลที่มีถิ่นที่อยูในประเทศไทย แตไมมีรายการในทะเบียนบาน (ท.ร.13 - ทะเบียนบานใชสําหรับคนเขาเมืองโดยชอบดวยกฎหมายแตอยูชั่วคราวหรือ เขาเมืองโดยไมชอบตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองและ ท.ร.14 - ทะเบียนบานสําหรับคนสัญชาติไทย และคนตาง ดาวที่มีใบสําคัญคนตางดาว ) เนื่องจากไมมีหลักฐานยืนยันถิ่นกําเนิดหรือประวัติ โดยเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร และ บุตรที่เกิดจากบุคคลกลุมนี้ก็จะไดรับการแจงเกิดและสูติบัตรตามแบบ ท.ร.031 และมีชื่อในทะเบียนประวัติเดียวกับ บิดามารดา (ท.ร. 38 ก) ป 2550 ซึ่งเปนโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีโครงการให สถานภาพทางกฎหมายแกคนไทยที่ไมมีชื่อในทะเบียนบาน ดวยการรับแจงอํานวยความสะดวก ชวยเหลือในการ สืบคนหลักฐานและสอบสวนใหสามารถเพิ่มชื่อหรือรับแจงเกิดเกินกําหนดโดยใหมีชื่อในทะเบียนราษฎรอยางถูกตอง 45 5 (d) (iv): Right to marriage and to choose one’s spouse 87. The Constitution specifies protection of a person’s right in the family and his/her right to privacy (Section 34). It also encourages and supports unity and strength of the family institution (Section 80). Regarding the right to marriage of a Thai national to an alien person or marriage between two alien persons, practices should be based on the principles of the following laws and orders: (a) Civil and Commercial Code, Book 5, Chapter 2 on Conditions of Marriage (Sections 1448–1460) allows a person aged over 17 years to be married. (Section 1448); (b) Family Registration Act B.E.2478 (1935) (Section 10); (c) Act on Conflict of Laws on Family Matters B.E. 2481 (1938) (Section 20); (d) No. 13; Ministry of Interior Regulations on Marriage Registration B.E. 2541 (1998), (e) Letter of the Department of Provincial Administration No. MT 0310.2/W 1170 dated 31 May 2000. 88. Practices toward alien persons should be the same as Thai nationals. There is, however, an issue concerning various considerations regarding marriage that the Registrar is unable to verify. For example, man and woman who are related by blood, i.e. are brothers/sisters by the same mother and father, or either of the two cannot be married (Section 1450). Either of the spouse under legal marriage cannot be remarried (Section 1452). It is the duty of the petitioner (the alien person) who does not have a residential locality in Thailand to find witnesses or evidence to prove to the Registrar that he/she has all the qualities specified as conditions to such marriage. Only then the Registrar can register the marriage. 89. The Act on Conflicts of Laws on Family Matters 1938 stipulates that “A marriage which can be carried out in conformity with the law of the country where the marriage is held is considered complete.” In the case of two alien persons, man and woman, already married in their respective country, this means that their marriage is still complete or in effect. To register their marriage in Thailand without having their qualities under Section 1452 verified, will result in their marriage being nullified. The consequences faced by the married couple are regarding their rights, duties, assets and children (if any). It is therefore necessary for the country of their origin to certify their rightful qualities for marriage according to Thai laws before they can be married in Thailand. This must not be seen as a legal protectionist measure, but as one to protect rights and to comply with the provisions of the law to make the marriage registration complete. 5 (d) (v): Right to own property, individually and jointly with others, and 5 (d) (vi) right to inheritance 90. The Constitution’s provisions on these two issues state that the right of a person to possession must be protected. Inheritance must be protected. The right of a person to inheritance must be in compliance with the law (Section 48). The expropriation of fixed assets cannot be carried out, except by the power under the provision of a specific law, which orders payment of fair compensation to be made in due time. The assets expropriated and not utilized must be returned to the original owner and his/her inheritors by demanding back the compensation paid (Section 49). Therefore, by the provisions of the Constitution, there is the Asset Expropriation Act as a supplementary law, which has been enacted and announced in the Royal Gazette as an official record. This law is equally enforced to all Thai nationals. 91. The right to own property also covers the right to own assets, especially land (personal possession) and condominiums (joint possession with others). 46 5(ง) (4) สิทธิในการสมรสและเลือกคูสมรส 87. รัฐธรรมนูญกําหนดการคุมครองสิทธิของบุคคลในครอบครัวและความเปนอยูสวนตัวไว (มาตรา 34) พรอมกับการ เสริมสรางและพัฒนาความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัว (มาตรา 80) สิทธิในการสมรสของบุคคลสัญชาติไทยกับ บุคคลตางดาวหรือบุคคลตางดาวดวยกัน ถือปฏิบัติบนพื้นฐานกฎหมาย และหนังสือสั่งการ คือ (ก) ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 5 หมวด 2 เงื่อนไขแหงการสมรส (มาตรา 1448- 1460) อนุญาตใหบุคคลสมรสได เมื่อมีอายุ 17 ปบริบูรณแลว (มาตรา 1448) (ข) พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 (มาตรา 10) (ค). พระราชบัญญัติวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. 2481 วาดวยเรื่องครอบครัว (มาตรา 20) (ง) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2541 ขอ 13 (จ) หนังสือกรมการปกครอง ที่ มท 0310.2/ว 1170 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2543 88. การปฏิบัติสําหรับบุคคลตางดาว ถือปฏิบัติเชนเดียวกับผูมีสัญชาติไทยแตมีประเด็นเกี่ยวกับคุณสมบัติตามเงื่อนไข แหงการสมรสที่นายทะเบียนไมสามารถตรวจสอบได เชน ชายหญิงซึ่งเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือลงมา เปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาหรือมารดา จะทําการสมรสกันไมได (มาตรา 1450) และทําการสมรสใน ขณะที่ตนมีคูสมรสอยูไมได (มาตรา 1452) เปนหนาที่ของผูรอง (คนตางดาว) ที่ไมมีภูมิลําเนาในประเทศไทยตองหา พยานหลักฐานมาพิสูจนใหปรากฏตอนายทะเบียนวามีคุณสมบัติถูกตองครบถวนตามเงื่อนไขแหงการสมรสดังกลาว นายะเบียนจึงสามารถรับจดทะเบียนสมรสใหได 89. ตามพระราชบัญญัติวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. 2481 มาตรา 20 บัญญัติวา “การสมรสซึ่งไดทําถูกตอง ตามแบบที่บัญญัติไวในกฎหมายแหงประเทศที่ทําการสมรสนั้นยอมเปนอันสมบูรณ ” ซึ่งเปนผลใหบุคคลตางดาวที่มี การจดทะเบียนสมรสในประเทศของตนก็มีผลสมบูรณตามกฎหมาย หากไมมีการตรวจสอบเงื่อนไขตามประมวล กฎหมายแพงฯ มาตรา 1452 ก็จะทําใหการจดทะเบียนสมรสนั้นเปนโมฆะ ซึ่งคูสมรสจะไดรับผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ ทรัพยสิน และบุตร (ถามี)ได และผูที่รูขอมูลดังกลาวดีที่สุดก็คือประเทศเจาของสัญชาติของบุคคลตางดาว ดังกลาว โดยตองใหหนวยงานของประเทศดังกลาวรับรองมาวา บุคคลตางดาวที่ประสงคจะสมรสตามกฎหมายไทยมี คุณสมบัติครบถวนตามกฎหมายไทย ทั้งนี้ไมใชเปนการกีดกันทางกฎหมาย แตเปนการพิทักษสิทธิและปฏิบัติใหเปนไป ตามเงื่อนไขของกฎหมายที่จะทําใหการจดทะเบียนสมรสมีความสมบูรณ 5(ง) (5) สิทธิการครอบครองทรัพยสินทั้งโดยสวนตัวและรวมกับบุคคลอื่นและ 5(ง) (6) สิทธิในการรับมรดก 90. รัฐธรรมนูญบัญญัติ 2 เรื่องนี้ไววา สิทธิของบุคคลในทรัพยสินยอมไดรับความคุมครองการสืบมรดกยอมไดรับ ความคุมครอง สิทธิของบุคคลในการสืบมรดกยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา 48) การเวนคืน อสังหาริมทรัพยจะกระทํามิได เวนแตโดยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะ ซึ่งตองชดใชคาทดแทนที่เปน ธรรมในเวลาอันควร อสังหาริมทรัพยที่เวนคืนแลวมิไดใชประโยชนตองคืนแกเจาของเดิมและทายาทโดยเรียกคืนคา ทดแทน (มาตรา 49) โดยบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้จึงมีกฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพยเปนกฎหมายรองรับและมี การประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนหลักฐานทางราชการ ซึ่งกฎหมายดังกลาวนี้ใชบังคับกับผูมีสัญชาติไทยทุกคนโดย เสมอภาคกัน 91. สิทธิในการครอบครองทรัพยสิน ครอบคลุมถึงสิทธิในการครอบครองอสังหาริมทรัพยโดยเฉพาะที่สําคัญคือที่ดิน (ครอบครองโดยสวนตัว) และอาคารชุด (ครอบครองโดยรวมกับบุคคลอื่น) 47 92. Regarding the right to land of alien persons, the Code of Laws on Land B.E. 2497 (1954) and the Amendments guide the operation in managing the state land and in protecting the citizens’ land. This also connects to (d) Civil Rights, i.e. Right to Residing (1) and (f) Economic and Social Rights, i.e. Right to Housing (3). The law provides an alien person with the right to utilize not more than one rai of land 6 per family for residential purpose, not more than 10 rais for agriculture, not more than one rai for commerce, not more than 10 rais for industry, and not more than half a rai for making family cemetery (Sections 86–96). There are a set of criteria specifically in determining the right to land of alien persons. 93. As with Thai nationals, practices will be based on the Code of Laws on Land B.E. 2547 (2004). Thai nationals also have the right to occupy land for agriculture, according to the Land Reform Act or Agriculture B.E. 2518 (1975), which aims to help agriculturists to have land to make their living and to put land to use toward maximum benefit. There are also the Regulations of the Central Land Management Committee 1974 set up to assign the land that belongs to the Ministry of Agriculture and Cooperatives to government agencies or the citizens. As for the persons without legal status, they still face the problem of illegitimacy toward the two rights mentioned above. 5 (d) (vii): Freedom of thought, conscience and religion 94. The Constitution states that every person must have complete freedom to adhere to any religion or doctrine, to practise in accordance with his/her religious strictures, attend or perform religious rites according to his/her beliefs, as long as they do not contradict the person’s duties as a citizen or the public morality, or affect the national security. In exercising this freedom, a person is protected against any infringement by the state which deprives him/her of his/her right or other legitimate benefits (Section 38). The state must support and protect Buddhism and other religions, promote good understanding and unity among followers of all religions, and support the application of religious teachings to enhance moral values and virtues and improve better quality of life (Section 73). Furthermore, the Criminal Code also has clauses in support of this issue, regarding the prohibition of insult on any religion, or causing disturbances at legal religious rites or congregations (Sections 206–207). Even though the majority of the population adhere to Buddhism, and there was a group of Buddhists who submitted a proposal to the Constitution Drafting Council during their drafting in 2007 to include a clause saying that Buddhism is a national religion, there was opposition from a number of people. Subsequently, the Constitution Drafting Committee decided to retain the original clause, not to include the new clause as proposed. Thailand’s population consists of peoples who adhere to a diversity of religions, including Buddhism, Christianity, Islam, Bhrama, Sikh, Hindu, Kongjue, Shinto, Zen, etc. 5 (d) (viii): Freedom of opinion and expression, and 5 (d) (ix): Freedom of association and right to peaceful assembly 95. The Constitution, in the Section on Rights and Liberty, upholds the people’s political rights and liberties. This covers many aspects, namely freedom to express opinion, speak, write, print, advertise, and others (Section 39), freedom to a peaceful rally, and to assemble as an association, union or other groupings, including to form a political party and to hold a peaceful demonstrations (Sections 44, 45, 47, 65). 6 1 acre = 2.5 rai of land. 48 92. สิทธิในที่ดินของคนตางดาว ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 และฉบับแกไขเพิ่มเติม ใชเปนแนวปฏิบัติในการ จัดที่ดินของรัฐและการคุมครองที่ดินของประชาชน ซึ่งมีผลเชื่อมโยงถึง (ง) สิทธิพลเมือง คือสิทธิการพํานักอาศัย (1)) และ(ฉ) สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม ฯ คือสิทธิการมีที่อยูอาศัย (3)) โดยกําหนด ใหคนตางดาวมีสิทธิใชที่ดินตอครอบครัว เพื่อการอยูอาศัยไดไมเกิน 1 ไร6 และเพื่อเกษตรกรรมไมเกิน 10ไร เพื่อพาณิชยกรรมไมเกิน 1 ไร เพื่ออุตสาหกรรมไม เกิน 10 ไร และเพื่อการสุสานตระกูลละไมเกิน ½ ไร (มาตรา 86-96) โดยมีหลักเกณฑเกี่ยวกับการกําหนดสิทธิใน ที่ดินของคนตางดาวกําหนดไวเปนการเฉพาะ 93. สําหรับผูมีสัญชาติไทยถือปฏิบัติตามหลักเกณฑของประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2547 และยังมีสทิ ธิครอบครอง ที่ดินเพื่อการเกษตรตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินหรือเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ซึ่งมุงชวยใหเกษตรกรรมมีที่ดิน ทํากินและการใชที่ดินเกิดประโยชนสูงสุดโดยมีระเบียบคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง พ.ศ. 2517 เพื่อจัดรูปที่ดินที่ เปนทรัพยสินของกระทรวงเกษตรและสหกรณใหกับสวนราชการหรือราษฎร สําหรับผูไมมีสถานะบุคคลตามกฎหมาย ยังตองประสบปญหาในเรื่องสิทธิทั้ง 2 ประการตามหัวขอขางตน 5ง) (7) เสรีภาพในความคิด ความสํานึกและศาสนา 94. รัฐธรรมนูญกําหนดวา บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการถือศาสนา การเลือกลัทธิหรือนิกายการปฏิบัติตาม หลักศาสนบัญญัติหรือพิธีกรรมความเชื่อที่ไมขัดตอหนาที่พลเมือง ความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดี การใช เสรีภาพนี้บุคคลยอมไดรับความคุมครองมิใหรัฐกระทําการใดๆ อันเปนการรอนสิทธิหรือเสียประโยชนอันควรไดเพราะ เหตุจากการนับถือศาสนาที่แตกตางจากบุคคลอื่น (มาตรา 38) รัฐตองอุปถัมภและคุมครองพุทธศาสนาและศาสนาอื่น สงเสริมความเขาใจอันดีและความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา และสนับสนุนการนําหลักธรรมของ ศาสนามาใชเพื่อเสริมสรางคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิต (มาตรา 73) นอกจากนี้ประมวลกฎหมายอาญายังบัญญัติ รับรองเรื่องนี้ไวในเรื่องการหามเหยียดหยามศาสนาใดหรือกอความวุนวายขึ้นในการประชุมหรือพิธีกรรมของศาสนา ใดๆ ที่ชอบดวยกฎหมาย (มาตรา 206 - 207) แมประชากรสวนใหญของประเทศนับถือศาสนาพุทธ และมี พุทธศาสนิกชนจํานวนหนึ่งไดยื่นขอเสนอตอสภารางรัฐธรรมนูญในระหวางการรางรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ใหบรรจุ ขอความเพิ่มเติมบัญญัติใหพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ แตก็ไดมีการคัดคานจากประชาชนอีกจํานวนหนึ่ง และ ในที่สุดคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญก็ยังคงขอความเดิมไวโดยมิไดเพิ่มเติมตามขอเสนอ และประเทศไทย ก็มีศาสนิก ชนที่หลากหลายทั้งพุทธ คริสต อิสลาม พราหมณ ซิกข ฮินดู ขงจื๊อ ชินโต เซน ฯลฯ 5ง)(8) สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก 5ง)(9) สิทธิในการชุมนุมอยางสงบและการรวมกลุม 95. รัฐธรรมนูญหมวดสิทธิและเสรีภาพประกันสิทธิทางการเมืองและเสรีภาพของประชาชนไวครอบคลุมหลายเรื่องคือ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณาและวิธีอื่น (มาตรา 39) เสรีภาพในการ ชุมนุมโดยสงบรวมกันเปนสมาคม สหภาพหรือหมูคณะอื่นการจัดตั้งพรรคการเมืองและการตอตานโดยสันติวิธี (มาตรา 44,45,47,65) 6 1 เอเคอร = 2.5 ไร 49 Article 5 (e): Economic, social and cultural rights 5 (e) (i): Rights to work, to choose a career freely, to enjoy a decent satisfactory working condition, to be protected from unemployment, to equal and fair remuneration, and 5 (e) (ii): right to form and join a workers’ union 96. The Constitution prohibits forced recruitment of labour, except when there is a specific law for reasons of preventing emergency natural disasters or in war time (Section 51). It specifies rights and liberties in having an occupation and in free and fair competition, protects the people with regard public utilities, consumer protection, urban planning, conservation of natural environment, safeguard security and welfare of the people, to prevent monopoly and unfair competition (Section 50). The Constitution 2007 has added provisions on people’s right to safety and security at their work places, and on secure living allowances during/after their working period (Section 44). It aims to promote the sufficiency economy concept, support the free economy system, distribute income fairly, expand career opportunities for the people at large by encouraging the use of local wisdom. All these correspond well with the lifestyle of the agriculture society where the majority of people are working in agriculture, as an independent profession. The law also supports people in working age to have jobs. It protects child and women labourers, lays down systems of labour relations and social security, sets fair remuneration, so that everyone can enjoy equal benefits and welfare without discrimination (Sections 83–84). 97. The Ministry of Labour is responsible for labour affairs, including employment, work safety and security according to all relevant laws, both domestic law and commitments under international conventions on labour. The Employment Service and Job Seekers Protection Act B.E.2528 (1985) and the Aliens Work Act B.E. 2551 (2008) do not contain provisions on racial discrimination. The main law on labour protection is the Labour Relations Act B.E. 2518 (1975) which is an operational kind of law that provides guidelines on the promotion of good relations between employers and employees, sets principles on settling labour disputes, systematizes the formation of employer-employee associations and unions, and protects the interest of employers. The Labour Protection Act (2nd Amendment) B.E.2551 (2008) which has been in effect since May B.E. 2551 (2008) has made amendments to provide wider and more effective protection for employees, in terms of employment protection direction, employees’ benefits, e.g. prohibiting employers from demanding or receiving security assets from employees as guarantee for jobs. The court has the power to order job contracts, employer’s orders, regulations, etc. to take effect only when they are considered fair and appropriate in each case. The law covers use of labour, rest days, taking leave with numbers of days clearly specified, female and child labour protection, wages, Wages Committee, welfare and working conditions, job criteria, petition, work suspension, compensation, Labour Inspection Officer, Employees’ Assistance Fund, etc. 98. The Labour Welfare and Protection Department is the focal agency mandated with the tasks of setting labour standards regarding working conditions, labour relations, labour welfare, work safety and health. The work of the Department is to help regulate minimum labour standard requirements so that they can bind concerned employers and employees. Labour standards at levels higher than what the law sets will be in the forms of promotion projects to encourage employers and employees to comply voluntarily. With regard to protection, the law ensures that employees both in public enterprises and in business firms in the private sector enjoy their rightful benefits as stipulated by the labour law, with due consideration of the basic rights in employment of all employees and the importance of eliminating discrimination in employment and occupation. The operational direction is as follows. 50 ขอ 5 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 5(ฉ) (1) สิทธิในการมีงานทํา เลือกงานอยางเสรี มีสภาพการทํางานที่เหมาะสมนาพอใจ ไดรับการ คุมครองจากสภาพการตกงาน ไดรับคาจางที่เทาเทียมและผลตอบแทนที่ยุติธรรมนาพอใจ และ 5(ฉ) (2) สิทธิในการจัดตั้งและเขารวมสหภาพแรงงาน 96. รัฐธรรมนูญกําหนดหามการเกณฑแรงงาน เวนแตมีกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการปองปดภัยพิบัติสาธารณะ ฉุกเฉิน หรือภาวะสงคราม (มาตรา 51) กําหนดสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปน ธรรม คุมครองประชาชนในดานสาธารณูปโภค การคุมครองผูบริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม สวัสดิภาพประชาชนหรือเพื่อปองกันการผูกขาดและความไมเปนธรรมในการแขงขัน (มาตรา 50) และ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 บัญญัติเพิ่มเติมใหบุคคลมีสิทธิไดรับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทํางาน และหลักประกันการดํารงชีพในระหวาง/พนสภาวะการทํางาน (มาตรา 44) สงเสริมแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนระบบเศรษฐกิจเสรี กระจายรายไดอยางเปนธรรมขยายโอกาสการประกอบอาชีพของประชาชน ดวยการ สนับสนุนใหใชภูมิปญญาทองถิ่นซึ่งสอดคลองกับวิถีชีวิตของสังคมเกษตรกรรมที่ประชาชนสวนใหญของประเทศ ประกอบอาชีพการเกษตรซึ่งเปนการทํางานอาชีพอิสระรวมถึงสงเสริมใหประชากรวัยทํางานมีงานทํา คุมครองแรงงาน เด็กและหญิง จัดระบบแรงงานสัมพันธ การประกันสังคมรวมทั้งคาตอบแทนที่เปนธรรม ไดรับสิทธิประโยชนและ สวัสดิการที่เทาเทียมกันโดยไมเลือกปฏิบัติ (มาตรา 83-84) 97. กระทรวงแรงงานรับผิดชอบดูแลภารกิจดานแรงงาน การมีงานทํา และสวัสดิภาพการทํางานตามกฎหมายที่ เกี่ยวของทั้งกฎหมายภายในและพันธกรณีระหวางประเทศของอนุสัญญาดานแรงงาน คือ พระราชบัญญัติจัดหางาน และคุม ครองคนหางาน พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติการทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2551 ซึ่งมิไดมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ กฎหมายหลักในการคุมครองแรงงานคือ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 เปนกฎหมายในระดับปฏิบัติที่ใชวางแนวทางสงเสริมความสัมพันธระหวางนายจางกับลูกจาง วางหลักเกณฑการ ระงับขอพิพาทแรงงาน จัดระบบการจัดตั้งสมาคมนายจางลูกจางและสหภาพแรงงานและคุมครองประโยชนการจาง และพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 แกไข เพิ่มเติมใหลูกจางไดรับความคุมครองที่มากขึ้นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งในเรื่องแนวทางคุมครองการจางงาน สิทธิ ประโยชนของลูกจางโดยกําหนดหามนายจางเรียกหรือรับหลักประกันการทํางาน ศาลมีอํานาจสั่งใหสัญญาจาง ขอบังคับ คําสั่งนายจาง ฯลฯ มีผลใชบังคับเทาที่เปนธรรมและพอสมควรแกกรณี การใชแรงงาน การหยุด การลา มี การกําหนดเวลาชัดเจน การคุมครองแรงงานหญิง แรงงานเด็ก คาจาง คณะกรรมการคาจาง สวัสดิการและ สภาพแวดลอมในการทํางาน เกณฑการทํางาน การรองทุกข การพักงาน คาชดเชย พนักงานตรวจแรงงาน กองทุน สงเคราะหลูกจาง ฯลฯ 98. กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เปนหนวยปฏิบัติดวยภารกิจในการกําหนดมาตรฐานแรงงานดาน สภาพการ ทํางาน แรงงานสัมพันธ สวัสดิการแรงงาน และความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางาน โดยมาตรฐานแรงงาน ขั้นต่ําจะไดรับการกําหนดออกมาเปนกฎหมาย เพื่อใหมีสภาพบังคับกับนายจางและลูกจางที่เกี่ยวของ สวนมาตรฐาน แรงงานในระดับที่สูงกวากฎหมายกําหนดจะอยูในรูปของโครงการสงเสริมตางๆ เพื่อใหนายจางและลูกจางปฏิบัติตาม ดวยความสมัครใจ การคุมครองใหลูกจางในรัฐวิสาหกิจและในสถานประกอบกิจการภาคเอกชนไดรับสิทธิประโยชน จากการทํางานของตนตามที่กฎหมายแรงงานกําหนด โดยคํานึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานในการทํางานของลูกจางทุกคน และ ความสําคัญของการขจัดการเลือกปฏิบัติในการจางงานและอาชีพโดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 51 99. The Labour Relations Act 1975 provides for labour-related agreement on working conditions, principles and methods in dialogues and negotiations between employers and employees, and principles and methods in establishing organizations of employers and employees. Specific provisions in this law concern the establishment of this organization under Section 56 and state that those who have the right to found an employer’s association must be employers of the same business type, are of the age of maturity, and hold Thai nationality. Furthermore, Section 88 states that those who have the right to found a labour union must be employees of the same employer, or employees working in the same business type regardless of the number of employers, are of the age of maturity and hold Thai nationality. This law guarantees the right to all employers and covers all employer’s organizations at all levels, be they the employers’ association, or a federation of employers’ organisations, regardless of the employers’ nationalities. The same applies to all employees by the definition of this law; they can join any employees’ organizations of all levels, be they a labour union, or a federation of labour unions, regardless of the employees’ nationalities. 7 100. The Labour Protection Act 1998 and its Second Amendment 2008 specify the working conditions and the benefits or minimum remuneration that employees in private enterprises must receive from their respective employers. This is a measure of protection extended to all employees equally, regardless of their nationalities, and including illegal migrant workers, whose basic labour rights are protected under this law, in the same manner as for employees of Thai nationality. The law gives importance to eliminate discrimination between male and female employees, aiming at protecting both male and female employees’ basic working rights equally. Section 15 specifies that an employer must treat male and female employees equally in employment, except when that cannot be done due to different natures or conditions of work. This is a guarantee that the remuneration packages agreed by the employer to his/her employees in the company are equal between male and female workers, whether they be regarding the benefits, e.g. training to enhance knowledge, etc., labour welfare, e.g. travel allowance or other payment such as per diem, or in setting retirement age. With regard remuneration for the work done that employees must receive, wages or salaries are considered fundamental rights which are crucial to the livelihood of both male and female employees. The law thus gives additional legal guarantees that in the case of similar nature, quality and quantity of work, the employer must pay the same rates of wage/salary, overtime payment for work on weekdays and on weekends and public holidays to his/her employees equally, regardless of male or female gender. 101. Thailand’s ratification of the International Labour Organization Conventions (data in the core document) means the country has made commitment to undertake the mission as a state party to the International Labour Organization (ILO), in the same manner as other states parties that have to implement under the ILO’s Charter. The Ministry of Labour is the main agency responsible for implementing in compliance with the ILO Convention, starting with reviewing, revising and giving comments on the Draft Protocol, preparing the Country Report on Implementing the Protocol, including preparation of a report on domestic laws and practices which correspond with the ILO standards, or compilation of clarifications about problems and threats in implementing to comply with the ILO standards. However, a crucially important mission as a member country is to promote basic labour rights, improve 7 From the statistics of the Central Registration Division, Office of Labour Relations, in April 2007, there are 1,722 labour organizations nationwide, 576 of which are in Bangkok, and 1,146 organisations in the regions (1 in 3 or 33.5:66.5 %). There are 45 Labour Unions of public enterprises with 170,830 members; 1,229 labour unions in private companies, with 326,950 members. On top, there are 16 Federations of Labour Unions in private companies, 1 Federation of Public Enterprises’ Labour Unions, 11 Councils of Employees’ Organisations, 405 Employers’ Associations, 3 Federations of Employers’ Organisations, and 12 Councils of Employers’ Organisations, with a combined total members of 497,780. Out of this, 255,620 members are in Bangkok, and 242,160 are in the regions, or at a close ratio of 51:49 %. 52 99. พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 กําหนดการจัดทําขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการทํางานหลักเกณฑและวิธีการใน การรวมเจรจาตอรองระหวางนายจางกับลูกจาง และหลักเกณฑและวิธีการในการจัดตั้งองคกรของนายจางและลูกจาง ถึงแมกฎหมายฉบับนี้จะมีบทบัญญัติเปนการเฉพาะสําหรับผูริเริ่มจัดตั้งองคกรไวในมาตรา 56 วาผูมีสิทธิจัดตั้งสมาคม นายจาง ตองเปนนายจางที่ประกอบกิจการประเภทเดียวกัน บรรลุนิติภาวะ และมีสัญชาติไทยเชนเดียวกันและ กําหนดไวในมาตรา 88 วาผูมีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงานตองเปนลูกจางของนายจางคนเดียวกัน หรือเปนลูกจางซึ่ง ทํางานในกิจการประเภทเดียวกันโดยไมคํานึงวาจะมีนายจางกี่คน บรรลุนิติภาวะ และมีสัญชาติไทย แตกฎหมายฉบับ นี้ก็ใหสิทธิแกนายจางทุกคนตามความหมายในกฎหมายฉบับนี้สามารถเขารวมเปนสมาชิกองคกรของนายจางไดทุก ระดับ ไมวาจะเปนสมาคมนายจาง และสหพันธนายจาง ไมวานายจางนั้นจะถือสัญชาติใดก็ตาม เชนเดียวกันลูกจางทุก คนตามความหมายในกฎหมายฉบับนี้สามารถเขาเปนสมาชิกองคกรของลูกจางไดทุกระดับ ไมวาจะเปนสหภาพ แรงงาน และสหพันธแรงงาน ไมวาลูกจางนั้นจะถือสัญชาติใดก็ตาม7 100. พ.ร.บ. คุม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กําหนดเกี่ยวกับสภาพการทํางานและสิทธิ ประโยชนหรือผลตอบแทนขั้นต่ําที่ลูกจางในสถานประกอบกิจการเอกชนตองไดรับจากนายจาง อันเปนการคุมครอง ลูกจางทุกคนอยางเทาเทียมกันไมวาลูกจางนั้นจะมีสัญชาติใด รวมถึงคนงานตางดาวที่เขาเมืองอยางผิดกฎหมาย ซึ่ง ไดรับการคุมครองสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐานภายใตกฎหมายฉบับนี้เชนเดียวกับลูกจางสัญชาติไทย ใหความสําคัญกับการ ขจัดการเลือกปฏิบัติระหวางลูกจางชายและหญิง โดยมุงคุมครองลูกจางชายและหญิงดวยสิทธิพื้นฐานในการทํางานที่ เทาเทียมกัน ตามมาตรา 15 ใหนายจางปฏิบัติตอลูกจางชายและหญิงโดยเทาเทียมกันในการจางงาน เวนแตลักษณะ หรือสภาพของแรงงานไมอาจปฏิบัติเชนนั้นได อันเปนหลักประกันวา ผลตอบแทนทุกอยางที่นายจางตกลงจัดใหแก ลูกจางในสถานประกอบกิจการของตนนั้น ตองเทาเทียมกันระหวางลูกจางชายและหญิง ไมวาจะเปนในเรื่องสิทธิ ประโยชน เชน การฝกอบรมเพิ่มเติมความรู ฯลฯ เรื่องสวัสดิการแรงงาน เชน คาพาหนะเดินทาง คาตอบแทนอื่นใด เชน เบี้ยเลี้ยง หรือการกําหนดอายุเกษียณ ผลตอบแทนจากการทํางานที่ลูกจางตองไดรับนั้น คาจางในการทํางานเปน สิทธิพื้นฐานที่จําเปนอยางยิ่งตอการดํารงชีวิตของลูกจางทั้งชายและหญิง จึงไดใหหลักประกันทางกฎหมายเพิ่มเติมไว วา ในกรณีของงานที่มีลักษณะและคุณภาพอยางเดียวกันและปริมาณเทากัน นายจางตองจายคาจาง คาลวงเวลา คา ทํางาน ในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจางเทาเทียมกันไมวาลูกจางจะเปนชายหรือหญิง 101. การใหสัตยาบันตออนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ (มีขอมูลในเอกสารหลัก) กระทรวงแรงงานใน ฐานะหนวยงานผูรับผิดชอบในการดําเนินการตามพันธกิจของประเทศสมาชิกขององคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labour Organization : ILO) ซึ่งมีพันธกิจ เชนเดียวกับประเทศสมาชิกทั้งปวงของ ILO ที่ตองปฏิบัติ ภายใตธรรมนูญ ILO ไมวาจะเปนการพิจารณาตรวจสอบแกไข และใหความเห็นตอรางตราสาร การจัดทํารายงานการ ปฏิบัติตราสารการจัดทํารายงานดานกฎหมายและแนวปฏิบัติภายในประเทศที่สอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน ILO หรือการจัดทําคําชี้แจงเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติใหสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน ILO แตพันธกิจที่ สําคัญยิ่งในฐานะประเทศสมาชิกคือ การสงเสริมสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐาน การปรับปรุงสภาพการทํางานและความ 7 จากขอมูลของกลุมงานทะเบียนกลาง สํานักแรงงานสัมพันธ เมื่อเดือนเมษายน 2550 มีองคการแรงานทั่วประเทศ 1,722 องคการอยูใน กทม.576 องคการ ในภูมิภาค 1,146 องคการ (1 ใน 3 หรือรอยละ 33.5/665) เปนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ 45 องคการ จํานวนสมาชิก 170,830 คน สหภาพแรงงานใน กิจการเอกชน 1,229 องคการสมาชิก 326,950 คน สหพันธแรงงาน กิจการเอกชน 16 องคกร สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ 1 แหง สภาองคการลูกจาง 11 องคการ สมาคมนายจาง 405 องคกร สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ 1 แหง สภาองคการลูกจาง 12 องคกร มีจํานวนสมาชิกรวม 497,780 คน อยูใน กทม 255,620 คน และอยูในภูมิภาค 242,160 คน คิดเปนอัตราสวนใกลเคียงกันคือประมาณรอยละ51.49 53 the working and living conditions of workers, and to expand opportunities for employment. In other words, the mission is to implement in compliance with the ILO Labour Standards, with firm determination to improve and develop domestic laws and practices on the elimination of discrimination in work remuneration. The Ministry of Labour has therefore undertaken steps to ratify ILO Convention No. 100 on Equal Remuneration, 1951 on 8 February 1999, and has prepared periodic reports on the results of Thailand’s implementation under the ILO Convention at a regular period of every two years. 102. As for promotion measures, the Department of Labour Welfare and Protection has compiled the Thai Labour Standards (MRT.8001-2003) for enterprises of all types and sizes, especially export businesses to apply in their organizations on a voluntary basis. Thai Labour Standards 8001-2003 lay down management and system of practices towards employees in an organization to ensure a foundation that complies with the Labour Law and other regulations on labour. These standards add provisions to the Labour Law stipulations, particularly on non-discrimination, stating that “An enterprise must not practise or support any discriminatory practice in employment, payment of wages and remuneration, working, welfare, opportunities for training and development, promotion consideration, termination of employment or forced retirement for reason of differences in nationality, race, religion, language, age, gender, marital status, personal attitude, disability, membership in a labour union, preference toward a political party, or other personal ideologies, etc.” 103. Any enterprise that wishes to develop its system of labour standards in order to qualify for a Thai Labour Standards 8001-2003 certificate must act according to the rules and operational guidelines of the Thai Labour Standards 8001-2003. It will have to go through a follow up and monitoring system, and an examination and evaluation on its operation accordingly. Specifically on remuneration and gender related discrimination, below is the set of criteria checklist: Employees must be paid overtime payment at a rate not lower than what the law sets for the work done outside normal working hours Male and female employees must be paid equal wages An enterprise must have its By-Law on Operation, particularly on Work Remuneration Welfare provision for employees must be based on equality and fairness principles Considerations for training, rotation, promotion or demotion must be based on merit and according to each employee’s capacity There must be a system or procedures in place at the enterprise for complaints/petitions in the case of any employee being discriminated against 5 (e) (iii): Right to housing 104. The Constitution (2007) added to the 1997 Constitution by stating that a person who has no place to live and has no income has the right to receive assistance from the state (Section 54). The National Housing Authority Act 1994 provides for an organization to deal with houses to meet the needs of the people, and for giving financial assistance to the people who wish to have houses of their own, or to those who want to do business with the National Housing Authority. 105. The National Housing Authority has implemented measures according to its mission in building housing units for the low-income people both in Bangkok Metropolis and in the regions nationwide. Yet, the units built are not sufficient to cater to the demand. Thus there has been keen involvement of the private sector toward investment in property development, building houses for sale, like in developed housing villages, making this business grow and expand at a very fast rate in Thailand. However, the low income people or the poor are still not able to access this housing service offered by the private sector. 54 เปนอยูของคนงาน และการเสริมสรางโอกาสในการจางแรงงาน หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ พันธกิจในการปฏิบัติให สอดคลองตามมาตรฐานแรงงานระหวางประเทศของ ILO และดวยความมุงมั่นที่จะปรับปรุงและพัฒนากฎหมายและ แนวปฏิบัติภายในประเทศดานการขจัดการเลือกปฏิบัติดานคาจางในการทํางานกระทรวงแรงงานจึงพิจารณา ดําเนินการตามขั้นตอนเพื่อใหสัตยาบันอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 100 วาดวยคาตอบแทนที่เทากัน พ.ศ. 2494 เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ พ.ศ. 2542 และจัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามอนุสัญญาฉบับดังกลาวตอ ILO เปนประจําทุก 2 ป 102. มาตรการเชิงสงเสริม กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานไดจัดทํามาตรฐานแรงงานไทย (มรท. 8001-2546) ขึ้น เพื่อใหสถานประกอบกิจการทุกประเภทและทุกขนาด โดยเฉพาะอยางยิ่ง สถานประกอบกิจการเพื่อการสงออก ได นําไปปฏิบัติภายในองคกรของตนโดยสมัครใจ มรท. 8001-2546 นี้ กําหนดถึงการจัดการและระบบปฏิบัติตอแรงงาน ของสถานประกอบกิจการ ใหมีพื้นฐานเปนไปตามขอบังคับของกฎหมายแรงงาน และขอกําหนดดานแรงงานอื่นๆ ที่มี มาตรฐานเพิ่มเติมจากกฎหมายแรงงาน โดยไดกําหนดเกี่ยวกับการไมเลือกปฏิบัติไววา “สถานประกอบกิจการตองไม กระทําหรือสนับสนุนใหมีการเลือกปฏิบัติในการจางงาน การจายคาจางและคาตอบแทน การทํางาน การใหสวัสดิการ โอกาสไดรับการฝกอบรมและพัฒนา การพิจารณาเลื่อนขั้นหรือตําแหนงหนาที่การเลิกจางหรือการเกษียณอายุการ ทํางานอันเนื่องมาจากเหตุเพราะความแตกตางในเรื่องสัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา อายุ เพศ สถานภาพสมรส ทัศนคติสวนตัว ความพิการ การเปนสมาชิกสหภาพแรงงานความนิยมในพรรคการเมือง หรือแนวความคิดสวนบุคคล อื่น ๆ” 103. สถานประกอบกิจการที่ตองการพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน เพื่อขอรับใบรับรอง มรท. 8001-2546 นั้น ตอง ปฏิบัติตามขอกําหนดและการดําเนินงานของ มรท. 8001-2546 มีระบบการตรวจติดตาม และการตรวจประเมินการ ปฏิบัติของสถานประกอบกิจการดังกลาว โดยเรื่องเกี่ยวกับคาตอบแทนและการไมเลือกปฏิบัติระหวางเพศนั้นกําหนด รายการสําหรับตรวจประเมินไว ดังนี้ - ลูกจางตองไดรับตอบแทนการทํางานไมนอยกวาที่กฎหมายกําหนดสําหรับการทํางานนอกเวลาทํางานปกติ - ลูกจางชายและหญิงตองไดรับคาจางที่เทาเทียมกัน - สถานประกอบกิจการตองมีขอบังคับการทํางานเรื่อง คาตอบแทนการทํางาน - การใหสวัสดิการแกลูกจางเปนไปตามหลักเกณฑเสมอภาค และเปนธรรม - การจัดฝกอบรม โยกยายหมุนเวียนงาน การเลื่อน หรือการลดตําแหนง ขึ้นอยูกับความดีความชอบ และ ความสามารถของลูกจางแตละราย - สถานประกอบกิจการมีระบบรองเรียนกรณีที่ลูกจางถูกเลือกปฏิบัติ 5(ฉ) (3) สิทธิในการมีที่อยูอาศัย 104. รัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2550) บัญญัติเพิ่มเติมจาก พ.ศ. 2540 คือใหบุคคลที่ไรที่อยูอาศัยและไมมีรายไดเพียงพอ มี สิทธิไดรับความชวยเหลือจากรัฐ (มาตรา 54) และพระราชบัญญัติการเคหะแหงชาติพ.ศ. 2537 กําหนดใหมีองคกร รับผิดชอบดูแลการจัดใหมีเคหะเพื่อใหประชาชนไดมีที่อยูอาศัยใหความชวยเหลือทางการเงินแกประชาชนผูประสงค จะมีเคหะของตนเอง หรือแกบุคคลผูประสงคจะรวมดําเนินกิจการกับการเคหะแหงชาติฯ 105.การเคหะแหงชาติดําเนินการตามภารกิจจัดสรางที่พักอาศัยแกประชาชนผูมีรายไดนอยทั้งในกรุงเทพมหานคร และในสวนภูมิภาคตาง ๆ ทั่วประเทศ อยางไรก็ตามที่พักอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยก็ยังไมเพียงพอตอความตองการ จึงมีภาคเอกชนจํานวนมากเขามาดําเนินกิจการสรางที่อยูอาศัยในลักษณะบานจัดสรร และเปนธุรกิจที่มีกิจการ กวางขวางแพรหลายมากในประเทศไทยแตประชาชนผูมีรายไดนอยหรือผูยากไรยังไมสามารถเขาถึงบริการนี้จาก อสังหาริมทรัพยภาคเอกชน 55 106. The Community Development Institution, a public organization under the Ministry of Social Development and Human Security with its mandate to strengthen communities and community-based organizations, is another organisation responsible for realizing the right to have a place to live for all people. It has carried out the “Ban Mankhong (Secure Home) Project” and the Project to Solve the Problems of Land for Livelihood and Places to Live for Poor People in the Rural Areas. The details are as follows. 107. The Ban Mankhong Project aims to strengthen security of the low-income people living in densely-populated communities in big cities, together with other aspects of development in an integrated manner. The community people are empowered to be core players working with the local authorities and other related allies in development in order to solve their own problems systematically. The project started in 2003 and is still ongoing. It uses an implementation process as a tool to prepare the local communities for decentralization. Concrete results are major improvements in public utilities, environmental conditions, security in land and housing for the community people. The project supports community-initiated design and focus grouping on housing needs, and gathers data on relevant implementation regarding housing. So far, the project has approved budgets in support of the urban process development for communities in 76 provinces of Thailand, totaling 100 projects in 211 towns/areas. Other budgets approved go to support the public utilities development projects in 65 provinces, totaling 423 projects in 164 towns/areas covering 774 communities and 44,375 households. 108. The Project to Solve the Problems of Land for Livelihood and Houses for Poor People in the Rural Areas aims to tackle the problem of not having land for livelihood for the rural poor people, which is a root cause to lack of occupation, income and security in life, and migration from the rural areas into big cities. The project seeks to create opportunities for the poor to maintain their land for livelihood in a sustainable manner, e.g. converting land which is unused or used non-cost-effectively into good effective use, arrangement for the certification of the right to land use for living and livelihood for security, improvement of soil quality, water sources, public utilities, as well as eradication of all conditions that disable the poor people to maintain their land for livelihood. The project’s outcomes are: initiation of pilot projects on solutions to the problem of land for livelihood and living in 23 sites of the rural areas at tambon (sub-district) level, with 2,675 household beneficiaries. Some measures initiated are: conducting a survey on the stateowned land which is vacant or partially inhabited, and allocating them to the poor people for livelihood use through registration (Nakhon Nayok); procuring of land from private owners for building a new community with developed land for livelihood (Payao); solving the problem of certain national parks’ demarcation ridding the citizens of their land for livelihood (Phetchaboon); utilizing of abandoned land owned by the declared nonperforming loan (NPL) private debtors for shared benefit to the communities (Lampoon); making community plans by allocating land to the people in trouble at 10 rais per case, building houses for a total of 127 families/households in trouble to live in, forming welfare groups to help one another in repayment of debts outside the financial system, establishing the Occupation for Income Fund to strengthen security of living for its members (Nan); supporting budgets for projects to solve the problem of land for living in 246 districts in 61 provinces; compiling history records of communities and aerial maps, covering 43 villages in the north, west and south; set up Joint Task Force for the Solution of Land in six subdistricts (Chaiyaphum). 109. As Thailand is an agricultural country, for the people in Thailand to have land for living means having a place to live and to make a living too. The enactment of laws on forests and land, such as the National Protected Forests Act B.E. 2507 (1964) and the Wildlife Conservation Zone Act B.E. 2507 (1964), aimed at controlling deforestation, reforestation and conservation and rehabilitation of forests and wildlife, has therefore affected the ethnic groups on the highlands, since they engage in agriculture for a living on those lands. The declaration of new protected forests, parks and conserved forests, has created areas overlapping with the land for livelihood of a large number of local people, farmers and ethnic groups on the highlands. This has resulted in turning those affected 56 106. สถาบันพัฒนาชุมชน องคการมหาชนในสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยซึ่งมีภารกิจในการ สรางเสริมความเขมแข็งใหกับชุมชนและองคกรของชุมชนเปนอีกองคกรหนึ่งรับผิดชอบเรื่องนี้ มีโครงการบานมั่นคง และโครงการแกปญหาที่ดินทํากินและที่อยูอาศัยของคนจนในชนบท คือ 107. โครงการบานมั่นคง มุงพัฒนาความมั่นคงในการอยูอาศัยของคนจนในชุมชนแออัด/ชุมชนบุกรุกในเมือง ควบคูไป กับการพัฒนาดานอื่นๆ ในลักษณะบูรณาการ โดยชุมชนเปนแกนรวมกับทองถิ่นและภาคีการพัฒนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อจัดการแกไขอยางเปนระบบ เริ่มดําเนินการตั้งแต ป 2546จนปจจุบัน โดยใชกระบวนการดําเนินงานเปนเครื่องมือ ในการสรางความพรอมใหกับทองถิ่น เพื่อรองรับการกระจายอํานาจ มีการพัฒนาปรับปรุงสาธารณูปโภค สภาพแวดลอม ความมั่นคงของที่ดินและที่อยูอาศัยของชุมชน สนับสนุนการออกแบบ จัดกลุมความตองการที่อยู อาศัย และจัดทําขอมูลการดําเนินการดานที่อยูอาศัย ปจจุบันไดอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการพัฒนากระบวนการใน เมืองแก 76 จังหวัดในชุมชนตาง ๆ ทั่วประเทศ 211 เมือง/เขต 100 โครงการ สนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบ สาธารณูปโภคแก 65 จังหวัด 164 เมือง/เขต 423 โครงการ 774 ชุมชน 44,375 ครัวเรือน 108. โครงการแกไขปญหาที่ดินทํากินและที่อยูอาศัยของคนจนในชนบท มุงแกปญหาการไมมีที่ดินทํากินของคนจนใน ชนบท ซึ่งเปนรากฐานที่มาของปญหาขาดอาชีพรายได ความมั่นคงในชีวิตและการอพยพจากชนบทเขาสูเมือง ดําเนินการโดยสรางโอกาสใหคนยากจนสามารถรักษาที่ดินไวอยางยั่งยืน เชนการนําที่ดินที่ไมไดใชประโยชนอยาง คุมคามาใชใหเกิดประโยชน ดําเนินการใหมีการรับรองสิทธิใหสามารถอยูอาศัยและทํากินไดอยางมั่นคง สงเสริม คุณภาพดิน แหลงน้ําสาธารณูปโภค ตลอดจนขจัดเงื่อนไขตางๆ ที่ทําใหคนยากจนไมสามารถรักษาที่ดินทํากินไวได ผล การดําเนินงานคือ เกิดโครงการนํารองแกปญหาที่ดินทํากินและที่อยูอาศัยในชนบทระดับตําบลใน 23 พื้นที่ มีผูรับ ประโยชน 2,675 ครัวเรือน โดยสํารวจที่ดินรัฐที่เปนที่วางหรือมีผูอยูอาศัยบางสวนมาจัดใหคนจนลงทะเบียนทํากิน (นครนายก) จัดซื้อที่ดินเอกชน และสรางชุมชนและที่ทํากินใหม (พะเยา) แกปญหาอุทยานทับที่ทํากินของราษฎร (เพชรบูรณ) ใชที่ดินที่เอกชนเปนหนี้ที่ไมเกิดผลประโยชน ( NPL) และทิ้งรกรางมาจัดประโยชนใหชุมชน (ลําพูน) ทํา แผนชุมชนจัดที่ทํากินใหผูเดือดรอนรายละ 10 ไร กอสรางบานใหผูเดือดรอนเขาอยูอาศัยได 127 ครัวเรือน จัดกลุม สวัสดิการชวยเหลือกันและกันในการชําระหนี้นอกระบบ สรางกองทุนอาชีพสรางรายไดใหสมาชิกทําใหเกิดความ มั่นคงในการดํารงชีวิต (นาน) สนับสนุนงบประมาณดําเนินโครงการแกปญหาที่ทํากินใน 61 จังหวัด 246 อําเภอ จัดทําประวัติชุมชน แผนที่ภาพถายทางอากาศ มีพื้นที่ที่ดําเนินการแลว จํานวน 43 หมูบานในภาคเหนือ ภาค ตะวันตกและภาคใต เกิดคณะทํางานรวมแกปญหาที่ดิน 6 ตําบล (ชัยภูมิ) 109. การมีที่ดินอยูอาศัยของประชาชนในประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม หมายถึง การมีที่พํานักและที่ ประกอบอาชีพหรือทํางานเลี้ยงชีพดวย การประกาศใชกฎหมายเกี่ยวกับปาและที่ดิน เชน พระราชบัญญัติปาสงวน แหงชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติเขตรักษาพันธุสัตวปา พ.ศ. 2507 เพื่อมุงควบคุมการตัดไมทําลายปาปลูกปา และอนุรักษฟนฟูปาและพันธุสัตวปา จึงสงผลกระทบตอกลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูงซึ่งทําการเกษตรเลี้ยงชีพบนพื้นที่ ดังกลาว เนื่องจากการมีพื้นที่ปาสงวน อุทยานและปาอนุรักษทับซอนกับที่ดินทํากินของราษฎร เกษตรกรและกลุมชาติ พันธุบนพื้นที่สูงจํานวนมากตองกลายเปนผูกระทําผิดกฎหมายบุกรุกปา กลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูงไดตอสูเรียกรองสิทธิ 57 people into offenders, or forest encroachers. The ethnic groups on the highlands have fought to demand their right to land for livelihood through formed network organizations of the group of civil or people’s organizations, e.g. Federation of Northern Farmers, Network of Northerners’ Organisations, Assembly of Ethnic People of Thailand, Assembly of Northern Community Forests, Council of the Poor, etc. They have made demands for revision of the Forestry Act, quick enactment of Community Forests law, solution of the livelihood land in the forests problem, revoking of illegal land right certificates on public land, solving the status problem, and ending the arrest, right violations and development limitation against the original local people. A process has thus been established for a joint dialogue between the people organisations’ group and the government sector, by setting up Committees or Task Forces, which have met to discuss and negotiate several times in the past. They are, for example, People Assistance Committee and the Joint Operation Centre for the Solution of Problems of the Highland People. The outcome of the negotiations have led the direction for the problem solution, as appeared in the Cabinet Resolutions, the important ones being the following: (a) Cabinet Resolution on 30 May 1998 addressed the problem of land in the forest zone, according to the measure and direction led by the National Forest Policy Committee to protect the remaining national forests, manage the protected forests and the conserved forests (e.g. national parks, wildlife conservation zones, mangrove forests, etc.), and with cooperation from the Forestry Department and the Office for Agricultural Land Reform. The measures include conducting intensive forest rehabilitation with the local people’s participation, prohibiting further expansion of land for livelihood, moving the local residents out from the forest zones by supporting them with public utilities, occupational development and quality of life improvement, reorganizing and arrangement of sufficient land for livelihood for the people, mapping the forest border line, and finding solution to settle the disputes; (b) Cabinet Resolution on 11 May 1999 addressed the problems faced by the farmers in the north regarding land, nationality, forests, and other pressing problems. The resolution led to negotiations and solution to settle the cases of land deeds being issued on the already inhabited land for livelihood of the local people in Lamphun, Lampang and Chiang Mai. Other outcomes are the granting of Thai nationality to the “Thai Phukhao” (hill tribes) peoples and the revision of the Forestry Act; (c) Cabinet Resolution on 6 February 2007 is on the continuous and effective implementation by the principle of “man and the forest living together”. The outputs are: the Project to Promote and Develop Participation of the Community People in the Forest Conservation Areas , the Forest Villages by the new plan, the Villages for the Conservation and Management of Water Sources, the Forest Protection Villages, guidelines on management of land for livelihood and village development, and development of security in the border areas and cooperation with the neighbouring countries to develop border villages. 110. The way forward in solving future problems regarding the management of resources between the state and the people, which affects a large number of ethnic groups, is to revise the Forestry Act and enact the Community Forest Act, which has been the people’s demand and is seen as the main goal and hope in solving the problem of conflict of interest in the natural resources between the state and the people since 1989. The new Community Forest Act will establish community forests for conservation purpose and for effective use, promoting and reviving the “man and forest” way of living, as well as seeking cooperation in this matter by setting up committees to oversee the policy at the national and provincial levels. The committees set conditions and requirements in establishing community forests both in and outside the conservation areas. They are in charge of administering and overseeing the management of the forests and impose sanction on the violators/offenders. This is believed to be the best shared solution between the public and civil society sectors, which will benefit both parties. At the operation level, the Community Development Institution, a public organization under the Ministry of Social Development and Human Security, implements projects that are effective and yield concrete results toward the people in many areas of the country. 58 ในเรื่องที่ทํากินของตน โดยไดดําเนินการในรูปองคกรเครือขายของกลุมองคกรภาคประชาชนที่รวมตัวกัน เชน สหพันธ เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) เครือขายองคกรประชาชนภาคเหนือ สมัชชาชนเผาแหงประเทศไทย (สชท.) สมัชชาปา ชุมชนภาคเหนือ สมัชชาคนจน ฯลฯ เรียกรองใหแกไขกฎหมายปาไม เรงออกกฎหมายปาชุมชน แกไขปญหาที่ดินในเขต ปา เพิกถอนเอกสารสิทธิมิชอบดวยกฎหมายในที่สาธารณประโยชน แกไขปญหาสถานะบุคคล และยุติการจับกุม ละเมิดสิทธิ และจํากัดการพัฒนาของชุมชนทองถิ่นดั้งเดิม โดยมีกระบวนการเจรจารวมระหวางองคกรประชาชนกับ ภาครัฐโดยตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางานขึ้นประชุมเจรจารวมกันหลายครั้ง เชน คณะกรรมการชวยเหลือประชาชน (คชช.) ศูนยปฏิบัติการรวมเพื่อแกไขปญหาประชาชนพื้นที่สูง (ศปส.) ผลการเจรจาปรากฏแนวทางการแกไขในรูปมติ คณะรัฐมนตรีหลายฉบับที่สําคัญ ไดแก (ก) มติคณะรัฐมนตรี 30 พฤษภาคม 2541 เปนการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไมตามมาตรการและแนวทางของ คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ เพื่อคุมครองปาไมของชาติที่ยังเหลืออยู บริหารจัดการกับปาสงวนและปาอนุรักษ (เชนอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา ปาชายเลน ฯลฯ) ดวยความรวมมือของกรมปาไม และสํานักงานปฏิรูปที่ดิน เพื่อการเกษตรกรรม เรงฟนฟูปาสงวน โดยการมีสวนรวมของราษฎรในพื้นที่ หามขยายพื้นที่ทํากินเพิ่มเติม เคลื่อนยาย ราษฎรออกจากพื้นที่โดยชวยสนับสนุนสาธารณูปโภค พัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต จัดระเบียบและจัดที่ทํากินให เพียงพอ จัดทําแนวเขตปา และหาขอยุติกรณีพิพาท (ข) มติคณะรัฐมนตรี 11 พฤษภาคม 2542 เปนการแกไขปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรภาคเหนือในเรื่อง ปญหาที่ดิน ปญหาสัญชาติ ปญหาปาไม และปญหาเรงดวนเฉพาะหนา โดยมีการเจรจาที่ไดขอยุติเกี่ยวกับการออกโฉนด ที่ดินทับที่ทํากินในพื้นที่จังหวัดลําพูน ลําปาง และเชียงใหม การใหสัญชาติแกชาวไทยภูเขา และการปรับปรุงกฎหมาย ปาไม (ค) มติคณะรัฐมนตรี 6 กุมภาพันธ 2550 เปนการดําเนินการตามหลัก คนอยูกับปา ใหตอเนื่องและเกิดผลดวย โครงการสงเสริมและพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชนพื้นที่ปาอนุรักษ (สชอ.) หมูบานปาไมแผนใหม หมูบานอนุรักษและ จัดการตนน้ํา หมูบานพิทักษปา และแนวทางการจัดการพื้นที่ทํากินและพัฒนาหมูบาน การพัฒนาความมั่นคงพื้นที่ ชายแดนและความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานเพื่อพัฒนาหมูบานชายแดน 110. แนวทางการแกไขปญหาในอนาคตสําหรับปญหาการจัดการทรัพยากรระหวางรัฐกับประชาชนซึ่งกลุมชาติพันธุ จํานวนมากไดรับผลกระทบนี้ คือการทบทวนแกไขกฎหมายปาไมและออกกฎหมายปาชุมชน ซึ่งเปนประเด็นเรียกรองที่ เปนเปาหมายและความหวังในการแกไขเยียวยาของประชาชนที่เริ่มมาตั้งแตป 2532 ในการจัดการกับปญหาการแยงชิง ทรัพยากรธรรมชาติและที่ทํากิน โดยกฎหมายฉบับนี้จะทําใหมีการจัดตั้งปาชุมชนขึ้นดวยวัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษ ใชประโยชน สงเสริมฟนฟูวิถีชีวิตของคนกับปาและความรวมมือในเรื่องนี้โดยมีคณะกรรมการกํากับดูแลนโยบาย ระดับชาติและระดับจังหวัด กําหนดเงื่อนไข/คุณสมบัติ การจัดตั้งปาชุมชนทั้งนอกและในเขตอนุรักษ การจัดการ การ ควบคุมดูแล การกําหนดโทษผูละเมิด/ฝาฝน ซึ่งจะเปนทางออกรวมกันทั้งของรัฐและเอกชนไดอยางเหมาะสมและเปน ประโยชนแกทั้ง 2 ฝาย ในระดับปฏิบัติมีองคการมหาชน คือ สถาบันพัฒนาชุมชนในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษยจัดทําโครงการดําเนินการที่ไดผลเปนรูปธรรมตอประชาชนในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ 59 5 (e) (iv): Right to public health services, medical treatment, social security and social services 111. The Constitution states that every person has equal right to access public health services of good standard. Poor people have the right to receive medical treatment and care from state public health centres free-of-charge, and the services must reach out to the people and rendered effectively. Local organizations must be encouraged to take part in preventing and eradicating dangerous contagious diseases efficiently and promptly. People aged over 60 years with no income have the right to receive assistance. Children and youth have the right to development and protection from the state. People with disabilities have the right to receive welfare, public facilities and other assistance from the state (Sections 52–55). The Constitution of 2007 has a policy to promote and support the development of public health, which will lead to sustainable good and healthy life for the people (Section 80 (2)). 112. Laws supporting the implementation of affairs in public health in Thailand are the following: (a) The National Health Security Act B.E. 2545 (2002) systematizes the provision of public health services that are necessary for health and living by putting in place systems of medical treatment which are standard, effective and extensive for all peoples nationwide. Joint tasks are undertaken by the public and private sectors, with a Committee and the Office of National Health Security responsible for devising systems of administration and management, setting standards, managing funds, coordinating with local administrative agencies in implementing the policy at the local level to reach the standards and set quality, as well as overseeing and supervising the service units and networks in service delivery to achieve the standards; (b) The National Health Act B.E. 2550 (2007) is a law with progressive thought on the prevention aspect by mobilizing health allies and partners in all sectors of society to participate in health strengthening. This is done through a process of developing public policies by laying down the National Bylaws on Health Systems as a guideline that sets policies and strategies on national health, supervised by the National Health Committee. The Bylaws are revised every five years to keep up with the social conditions. The Committee also supports the Health Assembly in tackling specific issues in certain localities to strengthen and promote local wisdom, protect consumers, disseminate knowledge and information on health, produce and develop quality public health personnel, manage financial affairs regarding health, set criteria and methodologies in follow up and evaluation of the national health system and the health effects from the public policies. 113. In practice, the Ministry of Public Health takes responsibility in public health affairs and medical treatment with the power of the two above-mentioned laws that cover health care, health security and health services, making it possible for the Ministry to provide services to every person in Thailand, regardless of race or ethnicity. Participation of the people in public health affairs is manifested in having Village Public Health Volunteers, who are local people in the respective communities playing a vital role. There is also a special project to select a number of youth from the southern border provinces (3,000 persons) for scholarships to study nursing in the different regions of the country. 114. To benefit the people with disabilities, there are the Quality of Life Enhancement for the Disabled Persons Act B.E. 2551 (2008), the Committee on the Rehabilitation of Abilities of the Disabled Persons and the National Office of Quality of Life Enhancement for Disabled Persons, under the Ministry of Social Development and Human Security being responsible for the operation. 5 (e) (v): Right to education and training 115. The Constitution states that every person has equal right to not less than 12 years of quality basic education provided extensively by the state free-of-charge. In the administration of education, the state has to consider participation of local administrative 60 5(ฉ) (4) สิทธิในบริการสาธารณสุข การแพทย การประกันสังคมและบริการสังคม 111. รัฐธรรมนูญกําหนดวา บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณะสุขที่ไดมาตรฐาน ผูยากไรมีสิทธิไดรับ การรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไมเสียคาใชจาย โดยบริการตองเปนไปอยางทั่วถึง มี ประสิทธิภาพโดยสงเสริมใหองคกรสวนทองถิ่นมีสวนรวมปองกันและขจัดโรคติดตออันตรายโดยไมคิดมูลคาและทัน เหตุการณ บุคคลอายุเกิน 60 ปและไมมีรายได มีสิทธิไดรับความชวยเหลือ เด็กและเยาวชนมีสิทธิไดรับการพัฒนา/ คุมครองจากรัฐ บุคคลพิการทุพพลภาพมีสิทธิไดรับสวัสดิภาพ สิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ และความ ชวยเหลืออื่นจากรัฐ (มาตรา 52-55) และรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มีแนวนโยบายสงเสริมสนับสนุนพัฒนาการ เสริมสรางสุขภาพอันนําไปสูสุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน (มาตรา 80(2)) 112. กฎหมายรองรับการดําเนินงานดานการสาธารณสุขของประเทศไทยไดแก (ก) พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 จัดระบบการใหบริการสาธารณสุขที่จําเปนตอ สุขภาพและการดํารงชีวิตดวยระบบการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพทั่วประเทศเพื่อบุคคลทุกคน โดยดําเนินการรวมกันระหวางภาครัฐและภาคประชาชน มีคณะกรรมการและสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ รับผิดชอบจัดระบบบริหารจัดการ กําหนดมาตรฐาน บริหารจัดการกองทุนและประสานกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่นในการดําเนินการระดับทองถิ่นใหมีคุณภาพและมาตรฐาน ตลอดจนกํากับดูแลหนวยบริการและเครือขายใน การใหบริการใหเปนไปตามมาตรฐาน (ข) พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 เปนกฎหมายที่มีแนวคิดกาวหนาเชิงปองกันดวยการระดมภาคี สุขภาพทุกภาคสวนในสังคมเขารวมคิดรวมทํางานสรางสุขภาพผานกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะดวยการ จัดทําธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติเปนกรอบแนวทางกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรดานสุขภาพของ ประเทศ มีคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติเปนผูดูแล ปรับปรุงทุก 5 ปเพื่อใหสอดคลองกับสภาพสังคม สนับสนุน สมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นหรือเฉพาะพื้นที่เพื่อเสริมสรางภูมิปญญาทองถิ่น คุมครองผูบริโภค เผยแพรองคความรู และขอมูลขาวสารดานสุขภาพ ตลอดจนการผลิต/พัฒนาบุคลากรดานสาธารณสุข และบริหารการเงินการคลังดาน สุขภาพ กําหนดหลักเกณฑ วิธีการในการติดตามและประเมินผลระบบสุขภาพแหงชาติและผลกระทบดานสุขภาพที่ เกิดจากนโยบายสาธารณะ 113. ในทางปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบภารกิจดานการสาธารณสุขและการแพทยดวยกฎหมายดาน สุขภาพทั้ง 2 ฉบับที่ครอบคลุมการดูแลสุขภาพ การประกันสุขภาพและบริการสุขภาพจึงสามารถใหบริการแกบุคคล ทุกคนในประเทศ โดยไมเลือกเชื้อชาติหรือเผาพันธุ การมีสวนรวมของประชาชนในดานสาธารณสุขคือ มีอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) มาจากคนในชุมชนซึ่งมีบทบาทอยางเขมแข็ง และมีการคัดเลือกเยาวชนจากพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใตจํานวนหนึ่ง (3,000 คน) เขารับทุนเรียนพยาบาลในภูมิภาคตาง ๆ ดวย 114. สําหรับผูพิการ มีพระราชบัญญัติสงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2551 และมีคณะกรรมการฟน ฟู สมรรถภาพคนพิการและสํานักงานสงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ รับผิดชอบการปฏิบัติงานอยูในกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย 5(ฉ) (5) สิทธิดานการศึกษาและฝกอบรม 115. รัฐธรรมนูญกําหนดวาบุคคลยอมมีสิทธิเสมอภาคกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา12 ป ที่รัฐจะตอง จัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย การจัดการศึกษารัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคการ 61 organizations and the private sector. The arrangement of training by professional organizations and the private sector under state supervision must be protected (Section 43). Research work must be protected (Section 42). 116. Important laws related to national education are: • National Education Act B.E. 2542 (1999) and (2nd Amendment) 2545 (2002) has a set of goals to develop Thai people to their fullest potential, enable them to co-exist with other peoples happily, nurture democratic values and human rights principles regarding rights, duties, liberties, equality and human dignity. The law divides education into three categories: formal education and informal education, sets direction in education management, services, management of standards, quality, as well as the process of producing and developing personnel in education and in the application of technology for education. • Compulsory Education Act B.E. 2545 (2002) sets nine years of compulsory education for all children aged 6–16 years. Parents must send their children to school in educational institutions. The Ministry of Education or the Local Administrative Organisations are responsible for arranging special education for children with physical, mental, intellectual, emotional, communication and learning deficiencies, children with physical disabilities, children who are not self-reliant and without parental care, disadvantaged children, or children with special abilities. The compulsory education provided for these special groups of children must be delivered using appropriate form and methodology. The law also sets punitive measures for those who violate and deprive their opportunities to go to school, or not reporting that there are children under school age in the house. • The Ministry of Education Regulations on Proof of Admission of Students into Educational Institutions B.E. 2548 (2005) and the Cabinet Resolution dated 5 July 2005 set operational guidelines in the management of education for children in Thailand. All educational institutions are duty bound to admit children of school age to study in their institutions, with or without proofs, by using birth certificates or letters of certification of birth, or other proofs issued by the government authorities, or documents accepted by the Ministry of Education. In the case of absence of the afore-mentioned proof, parents, care-takers, or non-governmental organisations can present personal history records of the children, or the educational institution concerned can conduct an interview to note down personal history of the child concerned for record. In the latter case, when the child finishes school, he/she will be issued a personal proof of education, e.g. a certificate without any remark on it. The school concerned should only put a remark in the school report of students’ admission. Therefore, every person, although without civil registration proof or without Thai nationality, can be admitted to educational institutions in Thailand, regardless of level/category/area. The state provides subsidies on per head expenses to educational institutions that arrange education for these persons, in the same manner as for Thai children from pre-elementary level to upper secondary level. The Ministry of Interior is assigned to issue ID number of 13 digits to these persons, and the Ministry of Education must arrange education for them using appropriate methodologies and techniques, especially for the children who have fled fighting in order to improve their quality of life and enable them to lead lives in harmony with others. At the local level, educational institutions are required to inform the number of these children to the local administrative organizations in order to allocate annual expense budgets accordingly. 117. In practice, Thailand has achieved significant progress in fulfilling the right to education, especially in ensuring that the right extends to every child in the country without discrimination in terms of race. The Ministry of Education Regulations B.E. 2548 (2005) and the Strategies to Solve the Problems of Status and Rights of Persons are important mechanisms to drive the operation toward concrete and tangible achievements. 62 ปกครองสวนทองถิ่นและเอกชน และการจัดการศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพและเอกชนภายใตการดูแลของรัฐยอม ไดรับความคุมครอง (มาตรา 43) งานวิจัยยอมไดรับความคุมครอง (มาตรา 42) 116. กฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาของชาติที่สําคัญ คือ - พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ 2542 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มีเปาหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให สมบูรณอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ปลูกฝงจิตสํานึกประชาธิปไตยและหลักการสิทธิมนุษยชนในเรื่องสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย จัดระบบการศึกษาเปน 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย วางแนวการจัดการศึกษา การบริการ จัดการมาตรฐาน คุณภาพ ตลอดจนกระบวนการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา - พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 กําหนดการศึกษาภาคบังคับ 9 ป สําหรับเด็กอายุ 6-16 ป โดยผูปกครองตองสงเด็กเขาเรียนในสถานศึกษา และใหกระทรวงศึกษาธิการหรือองคการปกครองสวนทองถิ่นจัด การศึกษาพิเศษสําหรับเด็กที่มีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณสังคม การสื่อสารและการเรียนรู รางกายพิการหรือทุพพลภาพ หรือไมสามารถพึ่งตนเองได ไมมีผูดูแล ดอยโอกาส หรือมีความสามารถพิเศษ ใหไดรับ การศึกษาภาคบังคับดวยรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งมีบทลงโทษสําหรับผูกระทําการอันเปนเหตุใหเด็กมิได เรียนในสถานศึกษา ไมแจงวามีเด็กที่เขาเกณฑการศึกษาอาศัยอยูดวย - ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยหลักฐานในการรับนักเรียนนักศึกษาเขาเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 และมติคณะรัฐมนตรี 5 กรกฎาคม 2548 ซึ่งกําหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดการศึกษาแกเด็กในประเทศไทย โดย สถานศึกษาถือเปนหนาที่ในการจะรับเด็กที่อยูในวัยการศึกษาภาคบังคับเขาเรียนในสถานศึกษา ทั้งที่มีและไมมี หลักฐานโดยใชสูติบัตรหรือหนังสือรับรองการเกิด หรือหลักฐานที่ทางราชการออกให หรือเอกสารที่ กระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหใชได หรือบิดามารดาผูปกครอง องคกรเอกชน ทําบันทึกแจงประวัติบุคคล หรือหากไม มีหลักฐานตางๆ ดังกลาว ก็ใหสถานศึกษา ซักถามประวัติบุคคลของผูมาเรียนหรือผูเกี่ยวของนําลงรับการเปนบันทึก แจงประวัติ และเมื่อเรียนจบไดรับหลักฐานทางการศึกษาเปนรายบุคคล เชน ประกาศนียบัตร ไมตองบันทึกหมายเหตุ ใดๆ ลงในหลักฐานนั้น แตใหหมายเหตุไวในหลักฐานรวมของสถานศึกษา ดังนั้น บุคคลที่ไมมีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไมมีสัญชาติไทยก็สามารถเขาเรียนในสถานศึกษาไดทุกคน โดยไมจํากัดระดับ/ประเภท/พื้นที่ จัดเงินอุดหนุน คาใชจายรายหัวใหสถานศึกษาที่จัดการศึกษาใหกลุมบุคคลเหลานี้เชนเดียวกับเด็กไทยในระดับกอนประถมถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย ใหกระทรวงมหาดไทยจัดทําเลขประจําตัว 13 หลักให และใหกระทรวงศึกษาธิการจัด การศึกษาในรูปแบบที่เหมาะสมแกเด็กที่หนีภัยจากการสูรบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการอยูรวมกันอยางสมานฉันท ในระดับทองถิ่นใหแจงจํานวนเด็กเหลานี้ตอองคการปกครองสวนทองถิ่นเพื่อตั้งงบประมาณคาใชจายประจําปใหดวย 117. ในทางปฏิบัติ สิทธิดานการศึกษาในประเทศไทยจัดวากาวหนาเพราะสามารถจัดไดคอนขางเทาเทียมครอบคลุม เด็กทุกคนในประเทศโดยไมมีการเลือกปฏิบัติดานเชื้อชาติ โดยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการฯ พ.ศ. 2548 และ ยุทธศาสตรการจัดการปญหาสถานะและสิทธิของบุคคล เปนกลไกที่สําคัญที่ชวยใหการปฏิบัติบรรลุผลอยางเปน รูปธรรม 63 5 (e) (vi): Right to equal participation in cultural activities 118. The Constitution sets policy direction on culture, by protecting the right of communities to uphold, practise and promote their traditions and customs, promoting local wisdom, art and culture at national and local levels, nurturing the values of unity bound by culture (Section 46). 119. The National Culture Act B.E. 2485 (1942) and the National Cultural Commission Act B.E. 2522 (1979) stipulate that existing national cultures must be preserved and promoted, by disseminating and implanting the values in the minds of the people. The setting up of the National Cultural Commission and the allocation of Promotion Funds should enhance research and maintenance work, and solve the problems related to culture. 120. Thai society is an open society that does not obstruct any culture from outside. It embraces diversities and integrates them harmoniously. The people in Thailand feel that they are all Thais, without any hindering thought about differences in race, religion, language or culture. Local dialects and cultures of each region are in use and in practice, preserving their identities with pride, while upholding the dignity of being Thai. In integrating cultural identities, the Thai society accepts identities of others as well as transfers its identities to others, an ideal give-and-take society in terms of identities and cultures. 121. In practice, the Ministry of Culture is responsible for the implementation of both promoting and preserving Thai culture. It works through extensive networks in the local areas of the country, in selecting and honouring “National Artists” in various fields annually, promoting local wisdom and cultures in all localities, setting up cultural watchdog centres in every province of Thailand, preserving and enhancing local cultures of all communities, regardless of race/ethnicity by regarding them as precious heritage of the nation. The Ministry also establishes local folklore museums about various ethnicities, with support from local academic institutions and organizations. It applies a strategy that brings in religious perspective to build peace and happiness in co-existence, by supporting activities of all religious organizations, organizing seminars to exchange thoughts and understanding among religions, disseminating information about the principles of every religion, organizing joint youth camps of every religion, involving around 3,000 young people per year to create understanding and promote acceptance of cultural diversities among youth. The Ministry also organizes seminars on Culture and Peaceful Means, promotes researches by providing funds for research and production of documents on culture extensively. There are works on ethnicities supported by the promotion fund, namely the Language Map of Ethnic groups in Thailand, Tracing Cultures of Ethnic groups, e.g. Thai Khern, Hmong, Gui, Thais of Chinese origin, Vietnamese, Muslims, ethnic groups along the Thai border , as well as researches on the relationship between ethnicity, natural resources and local wisdom in the north of Thailand. With all the ongoing operations and the concept of people’s participation, it is believed that the cultural rights of all ethnic groups in Thailand will be protected and promoted extensively. Article 5 (f): Right to access public places and services 122. Thailand does not prohibit or divide people from accessing public places and services for reason of race. Group-specific rights promotion measures Malayu-descended Thais 123. The government has devised a set of rights promotion and development strategies for these Malayu-descended Thais who are an ethnic minority group in the country, but are the majority population in the southernmost border area. These strategies cover several aspects. 64 5(ฉ) (6) สิทธิในการเขารวมกิจกรรมทางวัฒนธรรมอยางเทาเทียมกัน 118. รัฐธรรมนูญกําหนดแนวนโยบายดานวัฒนธรรมโดยบัญญัติใหเปนสิทธิของชุมชนที่จะอนุรักษฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่นและของชาติ และเผยแพรศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยมอันดีงามและภูมิปญญาทองถิ่น ปลูกฝงใหรูรักสามัคคีและมีจิตสํานึกเรื่องนี้ (มาตรา 46) 119. พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2485 และพระราชบัญญัติสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2522 กําหนดใหรักษาและสงเสริมวัฒนธรรมแหงชาติที่มีอยูและเผยแพรปลูกฝงตอประชาชน คนควาวิจัย บํารุงรักษา แกไขปญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมโดยการดําเนินงานในรูปคณะกรรมการแหงชาติและมีกองทุนสงเสริม 120. สังคมไทยเปนสังคมเปดที่มิไดปดกั้นวัฒนธรรมจากภายนอก หากแตยอมรับความหลากหลายและผสมผสาน ความหลากหลายเขาดวยกันอยางกลมกลืน ประชาชนในชาติจึงรูสึกวาตนเปนคนไทยโดยมิไดมีประเด็นติดของในเรื่อง ความแตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนา ภาษาหรือวัฒนธรรม ภาษาถิ่นและวัฒนธรรมของแตละภูมิภาคยังคงใชและปฏิบัติ โดยสามารถคงอัตลักษณเดิมของตนไวไดอยางภาคภูมิพรอมกับความเปนคนไทย ในการผสมผสานความหลากหลาย เขาดวยกัน สังคมไทยมีทั้งการยอมรับอัตลักษณของผูอื่นพรอมกับการถายทอดเอกลักษณของตนใหผูอื่นดวย จึงเปน สังคมที่มีทั้งการใหและรับในเรื่องอัตลักษณและวัฒนธรรม 121. ในทางปฏิบัติ กระทรวงวัฒนธรรมรับผิดชอบการดําเนินงานทั้งในดานการสงเสริมและรักษาวัฒนธรรม โดยมี เครือขายในทองถิ่นทั่วประเทศ ดําเนินการในรูปแบบการคัดเลือกเชิดชูศิลปนแหงชาติประจําป ในสาขาตางๆ สงเสริม ภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่นในทุกพื้นที่ มีศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรมทุกจังหวัดทั่วประเทศ อนุรักษบํารุงรักษา วัฒนธรรมทองถิ่นและชุมชนทุกเชื้อชาติ/ชาติพันธุในฐานะเปนมรดกอันสูงคาของชาติ จัดตั้งพิพิธภัณฑทองถิ่นเกี่ยวกับ ชาติพันธุตางๆ โดยมีสถาบันการศึกษาและองคกรในทองถิ่นสนับสนุนชวยเหลือ ใชยุทธศาสตรการนํามิติทางศาสนา สรางสันติสุขในการอยูรวมกัน อุดหนุนกิจกรรมแกทุกองคการศาสนา จัดประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนความเขาใจ ระหวางกัน เผยแพรหลักการของทุกศาสนา จัดคายเยาวชนรวมทุกศาสนา ปละประมาณ 3,000 คน เพื่อสรางความ เขาใจและการยอมรับความหลากหลายในระดับเยาวชน จัดสัมมนาเรื่องวัฒนธรรมกับสันติวิธี สงเสริมการวิจัยโดยให ทุนวิจัยและการผลิตเอกสารดานวัฒนธรรมอยางกวางขวางมีผลงานที่ไดรับทุนสงเสริมเกี่ยวกับเรื่องชาติพันธุตางๆ เชน แผนที่ภาษาของกลุมชาติพันธุในประเทศไทย การสืบคนวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุตางๆ เชน ไทยเขิน มง กุย คน ไทยเชื้อสายจีน ญวน มุสลิมชาติพันธุในชุมชนชายแดนไทย ตลอดจนการวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธชาติพันธุ ทรัพยากรธรรมชาติ และภูมิปญญาทองถิ่นในภาคเหนือ ซึ่งเชื่อวาการดําเนินการตางๆ และแนวทางการมีสว นรวมของ ประชาชน จะทําใหสิทธิทางวัฒนธรรมของทุกชาติพันธุในประเทศไทยไดรับการคุมครองและสงเสริมอยางกวางขวาง ขอ 5(ช) สิทธิในการเขาถึงสถานที่และบริการสาธารณะ 122. ประเทศไทยไมเคยมีการหามหรือแบงแยกบุคคลในการเขาสถานที่และบริการสาธารณะโดยสาเหตุแหงเชื้อชาติ มาตรการสงเสริมสิทธิเฉพาะกลุม กลุมคนไทยเชื้อสายมลายู 123. รัฐบาลไดออกมาตรการสงเสริมสิทธิและการพัฒนาของกลุมคนไทยเชื้อสายมลายูซึ่งเปนชนกลุมนอยในประเทศ แตเปนคนกลุมใหญในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตในดานตางๆ ไดแก 65 124. Structure. Structural strategies are applied to achieve the following: (a) Enactment of law to give the right to the communities in managing natural resources by themselves based on their religious beliefs; (b) Solve the problem of unemployment; (c) Enhance effectiveness of the justice system and strength of the society by encouraging public participation in the preservation and development of the justice system, including monitoring and evaluation and recuperation systems, to be overseen by an independent committee which examines the use of power by the state in enforcing the laws of the country. This is done by adjusting the attitude and procedural practice of government officials, and enhancing the role of the civil sector; (d) Improve the Islamic law system to suit the circumstances in the South; (e) Revise the Act on Administration of Islamic Religious Organisations B.E. 2540 (1997) to cover the Muslim way of life comprehensively; (f) Maintain the diversity in the education system, and promote alternatives for Thai Muslim students in overseas countries. 125. Culture. Promote cultural diversity, e.g. declaring Pattani Malayu language an additional official language in the southernmost border provinces, and building cultural immunity to counter violence. 126. Development. Having the Southern Border Provinces Administrative Centre as the main agency responsible for the implementation of development projects in the southern border provinces to improve the quality of life of the Malayu-descended Thais. Furthermore, support is given to religious and community leaders to enable them to assist the people with difficulties in the area. 127. Public Health. Focusing on health care, medical services, public health that suits the Muslim way of life, with practices that correspond with Muslim culture, e.g. allowing the patient’s relatives or midwives (Tohbidan) in the delivery room to give encouragement; allowing the “asarn” (welcoming ceremony) practice in first-born infants; group circumcision ceremony; the reading of the Koran to the critically ill patient in the Intensive Care Unit; letting the patient’s relatives decide whether to allow an autopsy since Muslims do not usually want bodies to undergo autopsy (believing that the bodies will not be complete if this takes place); designating proper praying space in the in-patient building; adjusting the system in the canteen to make “halal” food; providing space and facility to warm food during the Ramadan fasting period, including the assembly of the Muslim staff, etc. In solving the problem of shortage of medical personnel in the area, there is a project to produce 3,000 nurses selected among the local youth to study in medical and nursing schools in different regions throughout the country. Migrant workers 128. The Migrant Workers Group is a large group of persons who have been the focus of attention and care by various organizations in both the public and private sectors, including international organizations, especially those involved in labour, law, trade labour unions, as well as organizations that are driving democratic movements. Thailand has clear goals in tackling the problem of migrant workers, namely aiming to allow employment and legal import of workers under cooperation with the countries of origin, and with their acknowledgement. It focuses primarily on the labour that will serve the most needed sectors, and those that will not cause problems or undermine national security. Before that in the years between 1996 and 2002, the solving of this problem tended to be ad-hoc and there was no cooperation from the countries of origin. It was mainly a relaxation of law allowing the migrant workers to take up restricted types of work and only in the designated areas. Only after 2000 that the policy of legally importing labour workers came into effect, with the practice of labour registration with the Ministry of Labour. 66 124. โครงสราง 1) ออกกฎหมายใหชุมชนมีสิทธิจัดการทรัพยากรธรรมชาติเองบนฐานความเชื่อทางศาสนา 2) แกปญหาวางงาน 3) สรางประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมและความเขมแข็งของสังคมโดยใหสาธารณชนมีสวน รวมรักษาและพัฒนากระบวนการยุติธรรม พรอมระบบการตรวจสอบและเยียวยาโดยมีคณะกรรมการ อิสระเพื่อตรวจสอบการใชอํานาจรัฐในการบังคับใชกฎหมาย ปรับทัศนคติและวิธีปฏิบัติของเจาหนาที่ และเสริมสรางบทบาทภาคประชาสังคม 4) ปรับปรุงระบบกฎหมายอิสลามใหสอดคลองกับสภาวะของภาคใต 5) แกไข พรบ.การบริหารองคการศาสนาอิสลาม พ.ศ.2540 ใหครอบคลุมวิถีชีวิตมุสลิมครบถวน 6) คงความหลากหลายในระบบการศึกษาและสงเสริมทางเลือกใหนักเรียนไทยมุสลิมในตางประเทศ 125. วัฒนธรรม สงเสริมความหลากหลาย ประกาศใหภาษามลายูปตตานีเปนภาษาทํางานเพิ่มเติมใน จังหวัดชายแดนภาคใต และสรางภูมิคุมกันทางวัฒนธรรมเพื่อตานความรุนแรง 126. การพัฒนา มีศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในการร ดําเนินโครงการพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวไทยเชื้อสายมลายู นอกจากนี้ ยังมีการสนับสนุนผูนําศาสนาและผูนําชุมชนใหสามารถเยียวยาผูยากลําบากในพื้นที่ 127. การสาธารณสุข เนนการดูแลสุขภาพ บริการทางการแพทย สาธารณสุขที่เขากับวิถีมุสลิมดวยวิธี ปฏิบัติที่สอดคลองกับวัฒนธรรมมุสลิม เชน ใหญาติผูปวยหรือหมอตําแย (โตะบิดัน) เขาไปใหกําลังใจใน หองคลอด ใหมีการทําอาซานในเด็กแรกเกิด การทําสุนัตหมู การอานกุรอานใหคนปวยที่ใกลเสียชีวิตฟง ในหองฉุกเฉิน ใหญาติผูปวยเปนผูตัดสินใจอนุญาตการผาศพเนื่องจากมุสลิมไมตองการใหผาศพเพราะจะ ทําใหศพไมสมบูรณ จัดทําที่ละหมาดในตึกผูปวยใน จัดระบบโรงครัวใหเปนฮาลาล จัดทําที่อุนอาหารให ในชวงเทศกาลถือศีลอด รวมถึงการรวมกลุมเจาหนาที่ที่เปนคนมุสลิม ฯลฯ แกไขปญหาการขาดแคลน บุคลากรทางการแพทยในพื้นที่ดวยโครงการผลิตพยาบาล 3,000 คนจากการคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่ สงไปเรียนในวิทยาลัยแพทยและพยาบาลในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ กลุมแรงงานตางดาว 128. กลุมแรงงานตางดาวเปนบุคคลกลุมใหญที่ไดรับความสนใจและดูแลเอาใจใสแกปญหาเยียวยาจาก หนวยงานตางๆ หลายฝาย ทั้งภาครัฐ เอกชนและองคการระหวางประเทศ โดยเฉพาะองคกรระหวาง ประเทศดานแรงงาน ดานกฎหมาย สหภาพแรงงานดานการคา ตลอดจนองคกรเพื่อการเคลื่อนไหวดาน ประชาธิปไตย ประเทศไทยมีเปาหมายแกปญหาแรงงานตางดาวที่ชัดเจนคือ มุงใหมีการจางงานและ นําเขาแรงงานอยางถูกตองตามกฎหมายภายใตความรวมมือและรับรูของประเทศตนทาง โดยมุงแรงงานที่ เปนความตองการที่แทจริงไมเกิดปญหาและผลกระทบตอความมั่นคงของชาติ แตเดิมในชวงตน (ป 2539-2545) การแกไขปญหามีลักษณะแกปญหาเฉพาะหนาและประเทศตนทางมิไดมีสวนรวม เปนการ ผอนผันใหทํางานเฉพาะพื้นที่ในลักษณะงานที่กําหนด หลังป 2543 จึงใชนโยบายนําเขาแรงงานอยาง ถูกตองโดยมีการจดทะเบียนแรงงานตอกระทรวงแรงงาน 67 129. After the announcement of the alien labour registration, migrant workers were requested to report in 2001. From that point, the situation on rights protection has improved, and labour exploitation has been addressed more effectively. 130. Regarding public health, the migrant workers had to take medical check-ups as a measure to control and prevent six diseases (tuberculosis, leprosy, syphilis, filariasis, malaria, helminthiasis). Anyone with either of the following seven diseases or illnesses is not allowed to work: mental disease, mentally retarded, tuberculosis, leprosy, filariasis in critical stage whose symptom may be appalling to society, syphilis, drug addicted and chronic alcoholism. The above serves as precautionary and screening measures in order to get workers in good health, the same criteria used in recruiting government officials. Moreover, constant follow up on the progress in providing assistance to these workers has been carried out. 131. In handling the AIDS situation, there have been attempts from proactive workers at the local level, e.g. NGOs trying to coordinate with public health agencies to prescribe AZT for HIV-infected mothers, mobile medical units out at work, coordination with foreign public health volunteers to organize training for midwives and distribute delivery kits to midwife nurses, special projects for labour workers with high-risk behaviour, with AIDS Work Plans devised by public health officials in the provinces with a large volume of migrant workers by aiming at them directly, and with public health officials supporting the work of local NGOs. 132. Regarding reproductive health and maternal and child health care, a form of working as a network has been developed in implementing work on family planning and reproductive health among the alien labours group, coordinating with concerned agencies, emphasizing proactive services, conducting surveys on health conditions and using the outcome data to plan activities that are most relevant to the problems. Focus has been given to vaccination to boost immunization for children, reaching out specially to the children of migrant workers. Other activities carried out are organizing training for employers, publishing a Handbook on Health Care in Burmese language, providing maternal and child health care services and post natal family planning counseling, and training migrant workers volunteers. 133. In registering child births, the authorities have issued birth certificates to every child born, even despite the mother having no identity paper, in such case it will be recorded as, “according to witness account”, or “no evidence”. 134. Under the justice system, migrant workers are legally protected. The court has seen more lawsuits. Cases of violence against migrant workers have been tried under the justice system executing clear verdicts and punishment (e.g. the case of burning on tyre of six bodies, where the court has already sentenced the wrongdoer to imprisonment). Furthermore, there has been assistance from various organizations with regard rights protection directly and in training the migrant workers’ group in order that they can help take care of one another, e.g. training by the Lawyers’ Council which provides knowledge about all major conventions on human rights, several conventions on labour, as well as knowledge about claiming for remuneration/compensation, conducted in the form of lectures and hands-on exercises, supplemented by documents in Burmese language and cartoons. Most importantly, the Royal Thai Government has been constantly trying to improve the quality of life of these people. 135. In the aspects of status and working condition, the Labour Protection Act, enacted and effective since B.E. 2541 (1998), and its amended version (2nd Amendment) B.E. 2551 (2008) both give better protection to employees in terms of working condition and employment. While the Aliens Work Act of B.E. 2551 (2008) allow, for various reasons, persons without Thai nationality to apply for work permits, with considerations based on national security and social effects. The law also relaxes on employment of migrant workers (Burmese, Laotian and Cambodian) who have illegally entered Thailand to work since 1998, by the exception contained in Section 17 of the Immigration Act 1979. These workers are allowed to work in designated areas by holding work permits issued by the Ministry of Labour. 68 129. หลังจากมีการขึ้นทะเบียนแรงงานตางดาวโดยเปดใหมารายงานตัวในป 2544 สถานการณดานการคุมครองสิทธิ ดีขึ้น การเอาเปรียบแรงงานลดลง 130. ในดานสาธารณสุข มีการตรวจสุขภาพเพื่อควบคุมปองกันโรค 6 โรค (วัณโรค โรคเรื้อน เทาชาง ซิฟลิส มาลาเรีย พยาธิลําไส) และหามทํางาน 7 โรค (โรคจิต/ฟนเฟอน/ปญญาออน วัณโรค โรคเรื้อน เทาชาง-ที่อยูในระยะอันตราย หรือปรากฏอาการเปนที่นารังเกียจแกสังคมซิฟลิส ติดยาเสพติดและพิษสุราเรื้อรัง) เปนการเฝาระวังโรคและคัดกรอง แรงงานที่มีสภาพสมบูรณเกณฑเดียวกับการคัดเลือกผูเขารับราชการ มีการติดตามความกาวหนาของการใหความ ชวยเหลืออยางตอเนื่อง 131. ในดานการดูแลโรคเอดส ระดับพื้นที่มีความพยายามของเจาหนาที่ทํางานในเชิงรุก เชน องคกรเอกชนพยายาม ประสานกับหนวยงานสาธารณสุขในการจัดยา AZT ใหกับมารดาตั้งครรภที่ติดเชื้อ HIV มีการจัดหนวยแพทยเคลื่อนที่ ประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุขตางชาติจัดอบรมหมอตําแย แจกชุดทําคลอดสําหรับพยาบาลผดุงครรภ และ จัดโครงการพิเศษใหกับแรงงานที่มีพฤติกรรมเสี่ยง เจาหนาที่สาธารณสุขในจังหวัดที่มีการใชแรงงานตางชาติชุกมี แผนงานดานเอดสสําหรับกลุมแรงงานขามชาติโดยตรง และทํางานหนุนการทํางานขององคกรเอกชนในพื้นที่ 132. ในดานการอนามัยเจริญพันธุและการดูแลอนามัยแมและเด็ก มีการพัฒนารูปแบบเครือขายดําเนินงานวางแผน ครอบครัวและอนามัยเจริญพันธุในกลุมแรงงานตางชาติ โดยประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของตางๆ เนนบริการเชิงรุก สํารวจขอมูลสถานะสุขภาพ นําขอมูลมาวางแผนกิจกรรมที่สอดคลองกับปญหาและมุงใหวัคซีนสรางภูมิคุมกันโรคให ครอบคลุมเด็กของแรงงานตางชาติจัดอบรมนายจาง จัดทําคูมือดูแลสุขภาพภาษาพมา บริการดูแลอนามัยแมและเด็ก มีบริการแนะนําการวางแผนครอบครัวหลังคลอด และอบรมอาสาสมัครแรงงานตางชาติ 133. ในดานการจดทะเบียนเกิดเด็ก มีการออกใบรับรองการเกิดใหแกทุกคนที่มาคลอด แมมารดาจะไมมีบัตรแสดงตน ใด ๆ ก็จะบันทึกไววาเขียนตามคําบอกเลาหรือไมมีหลักฐาน 134. ในกระบวนการยุติธรรมไดรับความคุมครองตามกฎหมายโดยมีการฟองคดีถึงศาลมากขึ้น คดีที่เคยถูกกระทํา รุนแรงไดรับการพิจารณาตามกระบวนการยุติธรรมและมีการลงโทษชัดเจน (เชน คดีเผานั่งยาง 6 ศพ ศาลได พิจารณาจําคุกผูกระทําผิดแลว) นอกจากนี้มีความชวยเหลือจากหลายหนวยงานทั้งในดานการคุมครองสิทธิโดยตรง และการฝกอบรมใหความรูใหสามารถชวยเหลือดูแลกันเองได เชนการฝกอบรมของสภาทนายความ ซึ่งใหความรู เกี่ยวกับอนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลักทุกฉบับ อนุสัญญาดานแรงงานหลายฉบับและการใหความรูเรื่องการ ขอรับคาตอบแทน/คาทดแทน โดยมีทั้งการบรรยายและการทําแบบฝกหัด มีเอกสารเปนภาษาพมาและการตูน นอกจากนี้ รัฐบาลไทยก็ยังพยายามปรับปรุงคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของบุคคลกลุมนี้อยูอยางตอเนื่อง 135. ดานสถานภาพและสภาพการทํางาน พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานที่ออกประกาศใชตั้งแตป 2541 และ ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 คุมครองสภาพการทํางานและการจางงานที่คุมครองลูกจางมากขึ้น ขณะที่ พระราชบัญญัติการทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2551 อาจอนุญาตใหบุคคลซึ่งไมมีสัญชาติไทยดวยสาเหตุตางๆ สามารถขอใบอนุญาตทํางานไดโดยคํานึงถึงความมั่นคงของชาติและผลกระทบตอสังคมและมีการผอนผันการจาง แรงงานตางชาติ (พมา ลาว และกัมพูชา) ที่ลักลอบเขามาทํางานในประเทศไทยโดยผิดกฎหมายตั้งแตป 2541 โดย อาศัยขอยกเวนตามมาตรา 17 พรบ.คนเขาเมือง พ.ศ. 2522 ใหทํางานในพื้นที่ที่กําหนดโดยใหถือใบอนุญาตทํางาน (work permit) ของกระทรวงแรงงาน 69 136. As for migrant workers who were originally classified as illegal immigrant labour, the law exceptionally provides them with special status to work on a temporary basis under the conditions set by the state. The Royal Thai Government has systematized employment during 1996–2006, according to 11 Cabinet resolutions on this issue, as follows: (a) During 1996–2000, the registration started for only the migrant workers, and they were permitted to work in certain provinces and in certain sectors only. The workers had to buy Health Insurance Card (at 1,300 Baht each) to earn the right to access health services; (b) During 2001–2003, the registration still focused on the migrant workers, but they were allowed to work in all provinces; (c) During 2004–2006, there was an extension of this right to cover the migrant workers and their accompanies (including children aged 1 year up). This group of workers were registered with the 13-digit identity code starting with 00. 137. The next step involved strategy setting to regularize the status of illegal migrant workers into legal migrant workers. This was done through the signing of bilateral Memorandum of Understanding (MOUs), namely Thailand-Laos (2002), ThailandCambodia (2003) and Thailand-Burma/Myanmar (2003), which includes the process of verifying the nationality of the workers from their countries of origin. The workers then were issued with temporary documents for travel and work permits. Statistics of 2006–2007 (August) showed that as a result of this strategy, there were two batches of workers who have undergone the nationality verification and attained visas and work permits, 51,901 workers from Laos and 33,279 workers from Cambodia. Extension of stay in the Kingdom of Thailand was granted to these workers until February 2010. 138. Moreover, on public health, Thailand received financial support from The Global Fund to fight AIDS, Tuberculosis and Malaria, which focused on advocacy work and interventions for improved quality of life and risk-free life condition for these workers. The personnel involved carried out proactive work with the workers’ group in the business sectors that employed foreign workers most. The Global Fund also supports researches and allocates funds for non-governmental organizations that work with the groups of population who are at risk of facing human rights violation and discrimination problems. The details on this issue were already presented above, under the sections on articles 1 and 5 (e) (i) and (ii). 139. The Displaced Persons Fleeing from Fighting Arrangement has been made to prepare an environment for easy adjustment of the displaced persons in preparation for their durable solutions including resettlement. Held at the centre were vocational training and an arrangement of the way of living and environment within the centre to be as communitylike and as close to the real way of living of that locality as possible. Consideration of the concept of the justice system application has also been made to help solve the problem of disputes in the centre since 2003, with cooperation from various sectors including government agencies and the United Nations, namely the Ministry of Interior, Ministry of Justice and the Office of the United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR). This is because, at one stage, there were a large number of offences. The victims were more ready to rely on the justice system based on their traditional customs than to resort to the justice system based on Thai laws and the principles of international laws. The result was that the victims did not receive sufficient remedy and compensation, while the offenders went unpunished or did not serve punishment proportionately to the crimes committed. Also, each shelter itself had no capacity to handle the execution of those punishments. It appeared therefore that many cases of offences went unsolved, even murder cases, a large number for which the offenders were not arrested. To overcome this, a practical solution was then implemented from B.E. 2547 (2004) as part of cooperation between the Royal Thai Government and UNHCR to improve the management of the justice system in shelters. The implementation was carried out in three stages. The first stage involved the joint setting of framework for administration and training of the personnel concerned on knowledge about rights and commitments of the displaced persons under the Thai and 70 136. สําหรับแรงงานตางดาวซึ่งแตเดิมจัดวาเปนแรงงานที่หลบหนีเขาเมืองไดรับการผอนผันใหมีสถานะสามารถ ทํางานไดในลักษณะชั่วคราวตามเงื่อนไขที่รัฐกําหนด โดยรัฐบาลไทยไดมีการจัดระบบการจางงานในชวงป 25392549 โดยมีมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องนี้รวม 11 ฉบับคือ (ก) ในชวงป 2539-2543 เริ่มการจดทะเบียนเฉพาะตัวแรงงาน และอนุญาตใหทํางานไดในบางจังหวัดและบาง ประเภทแรงงาน โดยตองซื้อบัตรประกันสุขภาพ (ราคา 1,300 บาท) เพื่อสิทธิในบริการสุขภาพ (ข) ชวงป 2544-2546 ยังคงเนนจดทะเบียนเฉพาะตัวแรงงานแตขยายพื้นที่ทํางานไดทุกจังหวัด (ค) ชวงป 2547-2549 ขยายสิทธิใหแรงงานและผูติดตาม (รวมถึงเด็กที่มีอายุ 1 ปขึ้นไป)จดทะเบียนรับรหัส ประจําตัว 13 หลัก โดยขึ้นตนดวยเลข 00 137. ขั้นตอมามีการกําหนดยุทธศาสตรปรับสถานะแรงงานที่เขาเมืองผิดกฎหมายใหกลายเปนแรงงานที่เขาเมืองและ ทํางานอยางถูกตองตามกฎหมาย โดยการทําขอตกลงทวิภาคี ( MOU) ไทย-ลาว (2002) ไทย-กัมพูชา (2003) และ ไทย-พมา (2003) โดยการพิสูจนรับรองสัญชาติจากประเทศตนทางซึ่งจะไดรับเอกสารการเดินทางชั่วคราว และ ใบอนุญาตทํางาน จากยุทธศาสตรนี้มีขอมูลป 2549-2550 (สิงหาคม) วามีแรงงานผานการพิสูจนสัญชาติไดวีซาและ ใบอนุญาตทํางานแลว 2 รุนจากลาว 51,901 คน และจากกัมพูชา 33,279 คน ปจจุบัน มีการตออายุการอยูใน ราชอาณาจักรไทยของแรงงานตางดาวเหลานี้จนถึงเดือนกุมภาพันธ 2553 138. นอกจากนี้ในดานสาธารณสุขยังไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนระดับโลก ( Global Fund) เพื่อตอสูกับ โรคเอดส มาเลเรีย และวัณโรค โดยเนนการทํางานเพื่อรณรงคและแทรกแซงใหแรงงานมีคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ ปลอดจากความเสี่ยงตาง ๆ ดวยการทํางานเชิงรุกกับกลุมแรงงานที่ทํางานในธุรกิจที่มีการจางแรงงานขามชาติเขมขน สนับสนุนงานวิจัยและจัดสรรเงินทุนใหองคกรเอกชนที่ทํางานกับกลุมประชากรที่เสี่ยงตอการเผชิญปญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชนและการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้มีรายละเอียดที่ไดนําเสนอแลวในขอ 1 และขอ 5 ฉ) (1) และ (2) 139. กลุมผูหนีภัยจากการสูรบมีการเตรียมสภาวะแวดลอมใหผูหนีภัยสามารถปรับตัวเขากับสังคมภายนอก เมื่อพน สภาวะการเปนผูหนีภัยและตองออกจากศูนยพักพิงหรือยุบเลิกศูนย สวนหนึ่งมีการฝกอาชีพและจัดระบบการ ดํารงชีวิตและสภาวะภายในศูนยใหเปนไปในลักษณะของชุมชนและวิถีชีวิตจริงในพื้นที่นั้นๆ รวมถึงกระบวนการ ยุติธรรมโดยเริ่มแนวคิดการนํากระบวนการยุติธรรมเขาไปชวยแกปญหาขอพิพาทภายในศูนยพักพิงตั้งแตป 2546 ดวยความรวมมือจากฝายตางๆ ทั้งทางราชการไทยและองคการสหประชาชาติ คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง ยุติธรรมและสํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR) เนื่องจากมีจํานวนคดีกระทําผิดตางๆ จํานวน มากและทวีขึ้นอยางรวดเร็ว แตผูเสียหายสวนใหญยินดีจะพึ่งกระบวนการยุติธรรมตามจารีตประเพณีมากกวา กระบวนการยุติธรรมตามกฎหมายไทยและหลักกฎหมายระหวางประเทศ ซึ่งผลคือผูเสียหายไมไดรับการเยียวยา เพียงพอ ขณะที่ผูกระทําผิดก็มิไดถูกลงโทษอยางเหมาะสม และศูนยพักพิงก็ไมมีศักยภาพพอจะจัดการลงโทษ จึง ปรากฏวาหลายกรณียังไมมีการแกปญหา แมแตกรณีฆาตกรรมก็ยังไมสามารถจับไดถึงรอยละ 80 ในป 2547 จึงมีการ ดําเนินงานอยางในทางปฏิบัติดวยความรวมมือระหวางรัฐบาลไทยกับ UNHCR ปรับปรุงการบริหารกระบวนการ ยุติธรรมในศูนยพักพิง โดยดําเนินการเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นแรกรวมกันวางกรอบแนวทางการบริหารจัดการและ 71 international laws. The second stage involved supporting the Thai officers in charge in increasing the capacity of the justice organizations in the centres, with focus on the cases of juvenile offences; setting up of legal aid centres for the shelter, a cooperation between the Royal Thai Government, UNHCR and the International Rescue Committee to facilitate investigation hence resulting in more case filing and trials. The third stage was to seek additional cooperation from the United Nations Children’s Fund (UNICEF) and other nongovernmental organizations to implement supporting projects in creating an environment which is conducive to protection by providing appropriate curative assistance and legal counseling to those facing problems, and in enhancing the capacity of women to take care of themselves and assist one another, in order not to become victims of violence within the centres, e.g. by increasing the number of woman representatives in the displaced persons’ administrative bodies in various aspects, including the justice process, and by forming security guard units within the centres. Victims of trafficking 140. The human trafficking problem is a consequence of the problems in resource management and failure in enforcing the law equally, not corresponding with the way of living of the ethnic groups. Most of the trafficked victims are originally women and children, partly from broken families among the ethnic groups in the country, who were neglected and whose rights were violated due to their dislocation from their original locality to a new place where they could not adjust well to the new way of living and environment. These people became victims of crimes in the form of modern slavery. Regarding this problem, nowadays some of the victims are displaced persons or the migrants groups who have been deprived and ethnically discriminated against more severely due to the stricter national policy to counter terrorism. 141. The anti-human trafficking operation in Thailand started in 1996, during the crackdown of a prostitution where victims were found to be children (under 18 years) trafficked from both within and outside Thailand, with Thailand in the status of source, transit and/or destination country. The Office of the Prime Minister by the Office of the National Committee on Women’s Promotion and Coordination and the Office of the National Committee on Youth’s Promotion and Coordination jointly undertook the implementation measures to tackle this issue by running campaigns to raise awareness and provide knowledge and understanding, devising operation plans to prevent and solve the sexual commercialization problem, revising laws relevant to this issue. These laws include The Prostitution Prevention and Suppression Act (1996), The Act on Measures to Prevent and Suppress the Trafficking of Women and Children (1997), a revised addition to the Criminal Code (14th Amendment, 1997) that increases punishment and gives power to the court to punish sexual offenders against children outside the Kingdom of Thailand. There were measures revising the Criminal Procedure Code (20th Amendment, 1999), setting guidelines on child witness questioning, enacting The Money Laundering Prevention and Suppression Act (1999), classifying sexual offences involving procurement of persons for prostitution as one of the primary offences that may face punishment of asset confiscation, together with legal development. One concrete output was the signing of the first Memorandum of Understanding (MOU) among the government agencies involved in the operation (1999). After a period of serious implementation, it was found that the number of Thai victims declined, but the number of victims from neighbouring countries increased. 142. Then came the declaration of the National Policy and Plan on the Prevention, Suppression and Solution of Trafficking of Children and Women in Thailand and Overseas (Cabinet Resolution dated 1 July 2003), to be used as operational guidelines. The Ministry of Social Development and Human Security, upon taking up the task of tackling this problem, pushed the government to include this issue as a national urgent agenda. Eventually, the government announced the National Agenda on the Prevention and Suppression of Human Trafficking (6 August 2004), and a National Committee was set up with the Deputy Prime Minister as Chairman. The Committee laid down policy, structure and mechanism for the implementation on the protection and provision of assistance to all 72 ฝกอบรมบุคลากรผูเกี่ยวของในเรื่องความรูเกี่ยวกับสิทธิและขอผูกพันของผูลี้ภัยภายใตกฎหมายไทยและกฎหมาย ระหวางประเทศ ขั้นตอมาคือสนับสนุนเจาหนาที่ผูรับผิดชอบของไทยในการเพิ่มศักยภาพขององคกรยุติธรรมในศูนย โดยเนนที่กรณีการกระทําผิดของเด็กและเยาวชน จัดตั้งศูนยชวยเหลือทางกฎหมายใหศูนยพักพิงดวยความรวมมือของ รัฐบาลไทย UNHCR และ International Rescue Committee ทําใหมีการสืบสวนและดําเนินคดีมากขึ้น ขั้นตอน ตอไปคือการแสวงความรวมมือเพิ่มเติมจากยูนิเซฟ และองคกรเอกชนจัดโครงการสนับสนุนเพื่อสรางสภาพแวดลอมที่ เอื้อตอความคุมครองดวยการชวยเหลือเยียวยาที่เหมาะสม ใหคําปรึกษาแนะนําดานกฎหมายแกผูประสบปญหา และ เพื่อเพิ่มศักยภาพของสตรีใหมีบทบาทที่เขมแข็งขึ้นในการชวยเหลือดูแลกันเองมิใชตองตกเปนเหยื่อความรุนแรง ภายในศูนยโดยเพิ่มจํานวนผูแทนสตรีในองคกรบริหารของผูลี้ภัยดานตางๆ รวมถึงดานกระบวนการยุติธรรมและจัดชุด รักษาความปลอดภัยในศูนย เปนตน ผูเสียหายจากการคามนุษย 140. ปญหาการคามนุษยเปนผลตอเนื่องจากปญหาการจัดการดานทรัพยากรและปญหาการบังคับใชกฎหมายที่ไม เสมอภาค ไมสอดคลองตอวิถีชีวิตของกลุมชาติพันธุ แตเดิมผูถูกคาที่สวนใหญเปนผูหญิงและเด็ก สวนหนึ่งมาจาก ครอบครัวที่ลมสลายของกลุมชาติพันธุ/ชนเผาภายในประเทศที่ถูกละเลยและละเมิดสิทธิโดยการอพยพโยกยายออก จากถิ่นฐานเดิมไปอยูในที่ใหมที่ไมสามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตไดทันกับสภาพแวดลอมใหม จึงตกเปนเหยื่อ อาชญากรรมในรูปแบบการคาทาสสมัยใหม ปญหานี้ปจจุบันเหยื่อสวนหนึ่งขยายไปสูผูอพยพลี้ภัยหรือผูโยกยายถิ่น ฐานที่ถูกกีดกันและเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติที่รุนแรงขึ้นเนื่องจากความเครงครัดของนโยบายความมั่นคงปลอดภัยของ ชาติที่เขมงวดเพื่อตอตานการกอการราย 141. การตอตานปญหาการคามนุษยของประเทศไทยเริ่มในป 2539 สืบเนื่องจากการกวาดลางซองโสเภณีและพบวามี การคาประเวณีเด็ก (อายุต่ํากวา 18 ป) ซึ่งถูกคามาจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยที่ประเทศไทยอยูใน สถานะทั้งตนทาง ปลายทาง และทางผาน สํานักนายกรัฐมนตรีโดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงาน สตรีแหงชาติ และสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ จึงรวมกันดําเนินงานแกไขปญหา เรื่องนี้โดยการรณรงคสรางความรูความเขาใจ จัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาธุรกิจบริการทางเพศ แกไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้ซึ่งประกอบดวยกฎหมายปองกันปราบปรามการคาประเวณี (2539) กฎหมาย มาตรการการปองกันปราบปรามการคาหญิงและเด็ก (2540) แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2540) โดยเพิ่มโทษและใหอํานาจศาลในการลงโทษผูกระทําความผิดทางเพศตอเด็กนอกราชอาณาจักร แกไขประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 20 พ.ศ. 2542) วางแนวทางการสืบพยานเด็ก ผลักดันกฎหมายปองกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน (2542) โดยจัดความผิดเกี่ยวกับเพศในการชักพาจัดหาบุคคลไปเพื่อการคาประเวณีไวเปน หนึ่งในความผิดมูลฐานซึ่งอาจไดรับโทษถึงขั้นถูกริบทรัพยสิน พรอมกับการพัฒนากฎหมาย ก็มีการจัดทําบันทึก ขอตกลง(MOU) ระหวางหนวยงานในการปฏิบัติงานขึ้นฉบับแรก เปนขอตกลงในระหวางหนวยงานภาครัฐ (ป 2542) หลังการดําเนินงานเรื่องนี้อยางจริงจังไประยะหนึ่งพบวาผูถูกคาจากภายในประเทศลดลงแตกลายเปนเหยื่อจาก ประเทศเพื่อนบาน 142. จึงประกาศนโยบายและแผนระดับชาติ เรื่อง การปองกันปราบปรามและแกไขปญหาการคาเด็กและหญิง ภายในประเทศและขามชาติ(มติคณะรัฐมนตรี 1 กรกฎาคม 2546) เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ กระทรวงพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย ซึ่งรับทอดภารกิจตอมาไดผลักดันใหรัฐบาลจัดเปนปญหาเรงดวนระดับชาติซึ่งตอมา รัฐบาลไดประกาศวาระแหงชาติเรื่องการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย (6 สิงหาคม 2547) จัดตั้ง คณะกรรมการระดับชาติ มีรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน และวางนโยบาย โครงสราง และกลไกการดําเนินงาน 73 victims from human trafficking regardless of nationality according to the principles of human rights. It also set up the mechanism for the Operation Centre for Human Trafficking Prevention and Suppression at the provincial and national levels as well as in overseas countries. An initial fund of 100 million baht was granted to support the administration, but later transferred to be seed fund for the prevention and suppression of human trafficking under the Human Trafficking Prevention and Suppression Act B.E. 2551 (2008). Furthermore, there was an expansion of MOU signing, from between government agencies to between the government sector and the private sector, private sector and private sector, between groups of provinces in each region, and expanded from unilateral commitment to international ones, including the bilateral agreement between Thailand-Cambodia, Thailand-Laos, and the multi-lateral agreement of six countries in the Greater Mekong SubRegion (Cambodia, China, Laos, Burma/Myanmar, Thailand and Vietnam). Training was given to the personnel involved, namely police officers, immigration officers, officers of the Attorney’s Office, judges, doctors and officers of the Ministry of Social Development and Human Security. There was also an integrated project to prevent and resolve the problems of human trafficking and transnational organised crimes by the Department of Special Investigation, by exchanging data/problems, developing relations on news and communication and experience in the suppression work, as well as other projects by nongovernmental organizations and civil sector networks in the forms of meetings, seminars and workshops, which would be expanded to ASEAN and global levels. 143. From implementing to rescue and assist the victims from human trafficking, Thailand finds that the problem has intensified and become more severe. There were cases of oppression, torture, intimidation and illegitimate exploitation like those committed by transnational organised crime rings. The Human Trafficking Prevention and Suppression Act B.E. 2551 (2008) was then enacted on 5 June 2008, dissolving the Act on Measures to Prevent and Suppress the Trafficking of Women and Children 1997 in order to assist the victims of these crimes toward criminal justice and additional remedy and compensation, regardless of nationality. The Act on Victim Compensation and Expense Reimbursement in Criminal Cases B.E. 2544 (2001) and Witness Protection Act B.E. 2546 (2003) are other legal instruments that support the right to receive compensation in the case of damage from criminal offences committed by others, and to provide protection from harm in the case of witness to help him/her testify in the trials where the person is a victim of the human trafficking crime. As part of the strong commitment to counter human trafficking, Thailand acceded to the Optional Protocol to the Convention on the Rights of the Child on the sale of children, child prostitution and child pornography, and is preparing to accede as a State Party to the United Nations Convention against Transnational Organized Crime, which aims to promote cooperation in preventing and counteracting transnational organized crimes toward increased efficiency, and to the Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children, supplementing the United Nations Convention against Transnational Organized Crime. Ethnic groups on the highlands 144. The Royal Thai Government has made efforts to promote the rights of the ethnic groups on the highlands, including the right to hold a nationality, the right to housing, the right to education and public health, as already mentioned above in the sections on article 5 (d) (iii), 5 (e) (iii), 5 (e)(iv) and 5 (e) (v). Article 6 Protection and remedy 145. The Constitution guarantees the right to protection and remedy by stating that the person who is the damaged party in a criminal case has the right to receive protection, appropriate treatment and necessary and fair compensation from the state. In the case of death, the next of kin has the right to state assistance. Any person as accused in a criminal case and detained during trials, if proved innocent or that his/her act is not a crime by the 74 คุมครองชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยตามหลักการสิทธิมนุษยชนแมจะมิไดสัญชาติไทย วางกลไกศูนย ปฏิบัติการปองกันปราบปรามทั้งระดับจังหวัดระดับชาติและในตางประเทศ และไดมอบเงินทุนเริ่มตน 100 ลานบาท เปนทุนบริหารจัดการซึ่งตอมาไดโอนเปนเงินประเดิมกองทุนเพื่อปองกันและปราบปรามการคามนุษยตาม พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 นอกจากนี้ยังไดมีการขยายการจัดทําบันทึกขอตกลง ระหวางหนวยงานภาครัฐออกสูภาครัฐกับเอกชน เอกชนกับเอกชน ระหวางกลุมจังหวัดในพื้นที่แตละภูมิภาคและ ขยายสูระดับระหวางประเทศเปนบันทึกขอตกลงทวิภาคีไทย-กัมพูชา ไทย-ลาว และขอตกลงพาหุภาคี 6 ประเทศใน อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (กัมพูชา จีน ลาว พมา ไทย และเวียดนาม) การจัดฝกอบรมและสรางความรูความเขาใจแก บุคลากรผูเกี่ยวของคือ เจาหนาที่ตํารวจ เจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง พนักงานอัยการผูพิพากษา แพทย และบุคลากร ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ตลอดจนมีโครงการบูรณาการการปองกันและแกไขปญหา การคามนุษยและอาชญากรรมขามชาติของกรมสอบสวนคดีพิเศษโดยประสานแลกเปลี่ยนขอมูล/ปญหา พัฒนา ความสัมพันธดานการขาว การปองกันปราบปรามเรื่องนี้ รวมถึงโครงการขององคกรภาคเอกชนและเครือขายภาค ประชาชนในรูปการประชุมสัมมนา และการประชุมปฏิบัติการตางๆ และขยายความรวมมือออกสูระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับโลก 143. จากการดําเนินการแกไขเยียวยาผูเสียหายจากการคามนุษย ประเทศไทยพบวา ปญหารุนแรงมากขึ้น มีการ บังคับใชแรงงาน กดขี่ ทารุณ บังคับขูเข็ญและแสวงประโยชนโดยมิชอบและกระทําในลักษณะองคกรอาชญากรรม ขามชาติ จึงไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ขึ้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2551 โดย ยกเลิกพระราชบัญญัติมาตรการในการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ. 2540 เพื่อชวยใหผูตกเปน เหยื่อของอาชญากรรมนี้ไดรับความยุติธรรมทางอาญาและการเยียวยาเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่ง โดยไมเลือกสัญชาติ และมี พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหายและคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 และ พระราชบัญญัติคุมครองพยาน พ.ศ. 2546 เปนกลไกที่รับรองสิทธิในการไดรับคาตอบแทนในกรณีที่ไดรับความ เสียหายจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่นและการคุมครองความปลอดภัยจากพนักงานของรัฐในฐานะพยาน ผูจะมาใหขอเท็จจริงในคดีอาญาที่ตนตกเปนเหยื่อของอาชญากรรมและการคามนุษย และโดยที่ประเทศไทยให ความสําคัญกับการตอตานการคามนุษยอยางจริงจังจึงไดเขาเปนภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กใน เรื่องการคาเด็ก การคาประเวณีและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็กในป 2549 (Optional Protocol to the Convention on the Rights of the Child on The Sale of Children, Child Prostitution and Child Pornography) เตรียมการเขาเปนภาคีอนุสัญญาเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ( United Nations Convention Against Transnational Organized Crime) ซึ่งมุงสงเสริมความรวมมือในการปองกันและตอตาน อาชญากรรมขามชาติใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และพิธีสารเพื่อปองกันปราบปรามและลงโทษการคามนุษยโดยเฉพาะ สตรีและเด็ก กลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูง 144. รัฐบาลไทยไดพยายามสงเสริมสิทธิของกลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูงทั้งในดานสิทธิการถือครองสัญชาติ สิทธิในการมีที่ อยูอาศัย สิทธิในดานการศึกษาและสาธารณสุข ดังขอมูลปรากฏอยูในสวน5ง (3) 5 ฉ(3) 5ฉ(4) และ 5ฉ(5) ขอ 6 การคุมครองเยียวยา 145. รัฐธรรมนูญประกันสิทธิในเรื่องการคุมครองเยียวยาไววาบุคคลซึ่งเปนผูเสียหายในคดีอาญามีสิทธิไดรับการคุมครอง การปฏิบัติที่เหมาะสมและคาตอบแทนที่จําเปนและสมควรจากรัฐ หากถึงขั้นเสียชีวิต ทายาทยอมมีสิทธิไดรับความ ชวยเหลือจากรัฐ บุคคลใดตกเปนจําเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหวางการพิจารณาคดี หากปรากฏคําพิพากษา 75 court verdict, is eligible by law for compensation, expenses and the return of the rights taken away (Sections 245–246). The mechanisms for protection and remedy according to Thailand’s judicial process consist of three main parties, namely the Courts of Justice , the Parliamentary Ombudspersons and the National Human Rights Commission in the Legislation as mechanisms to receive complaints and petitions and to examine rights violations, and in the Administrative branch, there are the Ministry of Justice which has its operation units, namely the Department of Special Investigation, the Department of Rights and Liberties Protection (Community Justice Centre and Justice Clinic); the Ministry of Interior having the “Damrong Dhamma” or Justice Upholding Centre in every province nationwide as its operation units at the regional and local levels, as well as other supplementary mechanisms by other government agencies, non-governmental organizations and civil society networks, which are working to assist the people whose rights are violated, and to monitor cases of rights violation and the work of the state. 146. Important state operational mechanisms in the protection and remedy work are two main laws that grant the power to make the operation happen and yield concrete results. The two laws are the Act on Victim Compensation and Expense Reimbursement in Criminal Cases B.E. 2544 (2001) and the Witness Protection Act B.E. 2546 (2003), which are laws that provide compensation and protection to those facing problems and damaged by criminal offences committed by others, or those who lose freedom temporarily during trials according to the judicial procedures or those at risk of safety. The tasks involved under these two laws are the mission and responsibility of the Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice. Witness Protection Act 147. The mechanism to guarantee protection and appropriate treatment is the Witness Protection Act B.E. 2546 (2003) that provides protection according to the special measure for witnesses who are at risk of being harmed in the cases stipulated by the law, namely drugs, money laundering, corruption, or customs. The protection by this special measure is carried out in the form of moving address, living allowance payment, change of namefamily name, arrangement for appropriate livelihood, or others. Act on Victim Compensation and Expense Reimbursement in Criminal Cases B.E. 2544 (2001) 148. The mechanism to guarantee the right to request fair compensation from court is the Act on Victim Compensation and Expense Reimbursement in Criminal Cases B.E. 2544 (2001) that upholds the right to assistance from the state for the persons who have been affected by criminal offences committed by other persons, without any involvement in such offences, and without opportunity to receive remedy and compensation by other means. This law also guarantees the right to receive compensation in the case of a person as accused in a criminal case, having been detained during trials until the final court verdict that the accused is innocent. In practice, there is the Office for Financial Assistance to the Victims, with a committee to consider compensation for the victims, and reimbursement of expenses for the accused in criminal cases according to the set rates. Remunerations are for medical fee, physical and mental rehabilitation, or for loss of lives, compensated income during absence from work/occupation. Compensation and expenses are to compensate for the period of imprisonment, expenses in medical treatment and rehabilitation, compensation for loss of life, compensated income during absence from work/occupation, and trial handling expenses. 149. Since The Act on Victim Compensation and Expense Reimbursement in Criminal Cases B.E. 2544 (2001) became effective on 13 November 2001, there have been 11,346 applications for remuneration payment, 6,700 cases of which have been considered, and a total amount of 502,844,803.45 baht as assistance money have been paid. While 208 cases have been submitted as requests for witness protection. (See Tables 8 and 9.) 76 ถึงที่สุดวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําผิด หรือการกระทําไมเปนความผิด ยอมมีสิทธิไดรับคาทดแทน คาใชจาย และสิทธิที่ เสียไปคืนตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา 245-246) กลไกเพื่อการคุมครองเยียวยาตามกระบวนการยุติธรรมของไทย ประกอบดวย 3 ฝายหลัก ไดแก ฝายตุลาการคือ ศาล ฝายนิติบัญญัติมีผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาและคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนกลไกรับขอรองเรียนและตรวจสอบปญหาการละเมิดสิทธิ และฝายบริหารมีกระทรวง ยุติธรรม ซึ่งมีหนวยปฏิบัติคือกรมสอบสวนคดีพิเศษ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ (ศูนยยุติธรรมชุมชนและคลินิก ยุติธรรม) เชนเดียวกับกระทรวงมหาดไทยมีศูนยดํารงธรรมทุกจังหวัดทั่วประเทศเปนหนวยปฏิบัติในสวนภูมิภาคและ ทองถิ่น รวมถึงมีกลไกเสริมอื่นๆ ของหนวยงานภาครัฐ องคกรภาคเอกชน และเครือขายภาคประชาชนทําหนาที่ ชวยเหลือประชาชนเกี่ยวกับปญหาการถูกละเมิดสิทธิ และตรวจสอบปญหาการละเมิดสิทธิและการทํางานของภาครัฐ 146. กลไกรัฐที่สําคัญทางปฏิบัติในการคุมครองเยียวยามีกฎหมายหลัก 2 ฉบับที่ใหอํานาจทําใหการปฏิบัติเกิดผลเปน รูปธรรมคือ พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 และ พระราชบัญญัติคุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 ซึ่งเปนกฎหมายที่ใหการทดแทนเยียวยาและความคุมครองแกผู ประสบปญหาและไดรับผลเสียหายจากการกระทําความผิดทางอาญาของผูอื่นหรือสูญเสียอิสรภาพชั่วคราวระหวางการ พิจารณาคดีตามกระบวนการยุติธรรมหรือเสี่ยงตอสวัสดิภาพความปลอดภัย โดยเปนภารกิจในความรับผิดชอบของกรม คุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม พระราชบัญญัติคุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 147. กลไกประกันความคุมครองและการปฏิบัติที่เหมาะสมคือ พระราชบัญญัติคุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 ซึ่งใหความคุมครองตามมาตรการพิเศษแกพยานที่อาจไมไดรับความปลอดภัยในคดีที่กฎหมายกําหนดคือ คดีเกี่ยวกับยา เสพติด การฟอกเงิน การกระทําทุจริต หรือศุลกากร โดยทําการคุมครองดวยมาตรการพิเศษ เชน ยายที่อยู จายคาเลี้ยง ชีพ เปลี่ยนชื่อ-นามสกุล จัดการใหสามารถดํารงชีพไดตามความเหมาะสมหรืออื่นๆ พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 148. กลไกประกันสิทธิที่จะขอรับการทดแทนอยางยุติธรรมจากศาลคือ พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคา ทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ซึ่งรองรับสิทธิในการไดรับความชวยเหลือจากรัฐของบุคคลซึ่ง ไดรับความเสียหายจากการกระทําความผิดทางอาญาของผูอื่น โดยตนมิไดเกี่ยวของกับความผิดนั้นและไมมีโอกาสไดรับ การบรรเทาความเสียหายทางอื่น รวมทั้งรับรองสิทธิในการไดรับคาทดแทนในกรณีของบุคคลซึ่งตกเปนจําเลยใน คดีอาญาและถูกคุมขังระหวางการพิจารณาคดีที่มีคําพิพากษาถึงที่สุดวามิไดกระทําผิด ในทางปฏิบัติ มีสํานักงาน ชวยเหลือทางการเงินแกผูเสียหาย มีคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแก จําเลยในคดีอาญาเปนผูพิจารณาอนุมัติตามอัตราที่กําหนดไวโดยคาตอบแทน ไดแก คารักษาพยาบาลคาฟนฟู สมรรถภาพทางรางกายจิตใจ คาตอบแทนในกรณีเสียชีวิต คาขาดประโยชนที่ทํามาหาไดระหวางไมสามารถ ประกอบการงาน คาทดแทนและคาใชจาย ไดแก คาทดแทนการถูกคุมขัง คาใชจายในการรักษาพยาบาลและฟนฟู คา ทดแทนในกรณีถึงแกความตาย คาขาดประโยชนทํามาหาได และคาใชจายในการดําเนินคดี 149. นับแตกฎหมายตอบแทนผูเสียหายฯ มีผลบังคับใชเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2544 มีผูยื่นคําขอรับคาตอบแทน 11,346 ราย ไดรับการพิจารณา 6 ,700 ราย จายเงินชวยเหลือแลวจํานวน 502 ,844,803.45 บาท และ มีผูรองขอรับการ คุมครองพยานจํานวน 208 ราย (ตารางที่ 8 และ 9) 77 Other protection and monitoring mechanisms and organizations 150. Furthermore, there are mechanisms for rights protection and monitoring of rights violation, which are independent organizations under the Constitution. They are: • Parliamentary Ombudspersons (Sections 196–198) responsible for examining complaints about state use of power/ neglect of duties, which cause damage or/ are unfair to the people. • National Human Rights Commission (Sections 199–200) responsible for examining acts of rights violation or neglect of such, proposing policies and laws on the promotion and protection of human rights, promoting education, cooperation, dissemination of knowledge on human rights, as well as compiling annual reports to monitor human rights situations in the country. This organization serves as vitally important mechanism for examining and receiving complaints (Tables 6 and 7). • Constitutional Court (Sections 255–270) has the power to interpret and judge if particular clauses contradict or are not correct according to the Constitution. • Courts of Justice (Sections 271–275) has the power to hold trials of general cases, consisting of three levels: Court of First Instance, Court of Appeal and Supreme Court, and categorized according to the nature of case, e.g. Civil Court, Criminal Court, Juvenile and Family Court, Labour Court, Customs Court, Intellectual Property Court and Dissolution Court, etc. • Administrative Court (Sections 276–280) has the power to hold trials of cases of disputes between government agencies, government officials and the private sector due to acts or failure to act by government agencies or officials. • Military Court (Section 281) has the power to hold trials of military criminal cases. 151. Apart from having the above-mentioned independent organizations Legislation and the Judiciary according to the Constitution to monitor, examine human rights, there are organizations under the Administration that are directly for the protection of rights and liberties of the people, and a number of governmental organizations. under the and protect responsible other non- 152. The Ministry of Interior has its “Damrong Dhamma” or Justice Upholding Centre, established since 1994, having service units attached to the Provincial Administration Office in most provinces (service units available at district level in the southern border provinces). These service units handle cases of complaints due to acts or performance of government officials and staff of the public enterprises under the Ministry of Interior, Sub-District Chiefs, Village Headmen, and personnel of various local administration organizations. 153. The Ministry of Justice has its Community Justice Centre, established according to the strategy, Equal justice for all, with people’s participation, for the local people to become partners and networks for justice. The Ministry also has the Department of Special Investigation to control serious crimes that lead to damages in lives and assets, and rid the people of safety and human rights. There is the Department of Rights and Liberties Protection whose tasks are to lay down systems, promote knowledge about rights and liberties that every person is eligible to have by law, provide primary assistance and protection to the witness, the victim and the accused in criminal cases so that all people will get protection and care from the state extensively and equally. The Committee for the Promotion of the Elimination of All Forms of Racial Discrimination was set up by the Ministry of Justice to be responsible for producing periodic country reports, disseminating knowledge and understanding, recommending revision of laws and regulations about the elimination of racial discrimination. This Committee will in the future be the practical operational body of the Administration. 154. The Ministry of Social Development and Human Security, with its mission to develop and create justice and equality in society, has its Provincial Social Development and Human Security Officer in every province at sub-national level to handle complaints about violations of rights against children and women, as well as other vulnerable groups. 78 กลไกการคุมครองและการตรวจสอบอื่นๆ 150. นอกจากนี้ ยังมีกลไกการคุมครองและการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งเปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ คือ - ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (ม.196 - 198) รับผิดชอบตรวจสอบขอรองเรียนเกี่ยวกับการใชอํานาจ / การ ละเลยปฏิบัติหนาที่ ที่กอใหเกิดความเสียหาย / ไมเปนธรรมตอประชาชน - คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (ม.199-200) รับผิดชอบตรวจสอบการกระทํา /การละเลยการกระทํา ละเมิดสิทธิมนุษยชน เสนอนโยบายและกฎหมายสงเสริมคุมครองสิทธิมนุษยชน สงเสริมการศึกษา ความรวมมือ การ เผยแพรความรูเรื่องสิทธิมนุษยชน ตลอดจนจัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชน ภายในประเทศ ซึ่งองคกรนี้เปนกลไกตรวจสอบและรับการรองเรียนที่สําคัญยิ่ง (ตารางที่ 6 และตารางที่ 7) - ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 255 - 270) มีอํานาจพิจารณาวินิจฉัยขอความที่ขัดหรือแยงหรือไมถูกตองตาม รัฐธรรมนูญ - ศาลยุติธรรม (มาตรา 271 - 275) มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั่วไป มี 3 ระดับ คือ ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา และจําแนกประเภทตามลักษณะคดี เชน ศาลแพง ศาลอาญา ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพยสินทางปญญา และศาลลมละลาย ฯลฯ - ศาลปกครอง (มาตรา 276 - 280) มีอํานาจพิจารณาคดีที่เปนขอพิพาทระหวางหนวยงานและเจาหนาที่ของรัฐ กับเอกชน และขอพิพาทอันเนื่องมาจากการกระทําหรือละเวนกระทําของหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐ - ศาลทหาร (มาตรา 281) มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทหาร 151. นอกจากองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญเพื่อการตรวจสอบและคุมครองสิทธิมนุษยชนในฝายนิติบัญญัติและฝายตุลา การดังกลาวขางตน ยังมีองคกรของฝายบริหารที่รับผิดชอบคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนโดยตรง รวมทั้ง องคการเอกชนอีกจํานวนหนึ่ง เชน 152. กระทรวงมหาดไทยมี ศูนยดํารงธรรม ซึ่งจัดตั้งขึ้นตั้งแตป 2537 มีหนวยใหบริการอยูกับที่วาการจังหวัดตาง ๆ (และสําหรับจังหวัดชายแดนภาคใตมีถึงระดับอําเภอ) ทําหนาที่ดูแลกรณีรองเรียนอันเนื่องมาจากการปฏิบัติของ ขาราชการและพนักงานวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย กํานัน ผูใหญบาน และบุคลากรของหนวยปกครองสวน ทองถิ่นตาง ๆ 153. กระทรวงยุติธรรมมี ศูนยยุติธรรมชุมชน จัดตั้งตามยุทธศาสตร ยุติธรรมถวนหนา ประชามีสวนรวม เพื่อให ประชาชนในทองถิ่นไดมีฐานะเปนหุนสวนและเครือขายยุติธรรม มีกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อควบคุมอาชญากรรม รายแรงอันนําไปสูความเสียหายตอชีวิตความปลอดภัยของประชาชนและสิทธิมนุษยชน มีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ มีภารกิจทั้งในการจัดวางระบบ การสงเสริมความรูเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชนพึงไดรับตามกฎหมาย คุมครอง ชวยเหลือเยียวยาเบื้องตนตอพยาน ผูเสียหาย และจําเลยในคดีอาญา เพื่อใหประชาชนไดรับการคุมครองและดูแลจาก รัฐอยางทั่วถึงและเทาเทียม โดยมีคณะกรรมการสงเสริมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบซึ่งแตงตั้งโดย กระทรวงยุติธรรมรับผิดชอบภารกิจการจัดทํารายงานประเทศ เผยแพรความรูความเขาใจและเสนอแนะใหมีการแกไข กฎหมาย ระเบียบและขอบังคับเกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ซึ่งจะเปนองคกรดําเนินการในทางปฏิบัติ โดยตรงของฝายบริหารตอไป 154. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยภารกิจการพัฒนาและสรางความเปนธรรมและเสมอภาค ในสังคม มีพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดอยูในสวนภูมิภาค ทุกจังหวัด เพื่อรับขอรองเรียนเกี่ยวกับการ ละเมิดสิทธิเด็กและสตรีและกลุมเสี่ยงอื่นๆ 79 155. Moreover, in the civil society sector, there is the Tribal People’s Assembly of Thailand which was founded in 1999 as a result of the union of various ethnic groups that were facing rights violation problems in many aspects, and with support from civil societies in the north, to collectively demand for the government to resolve the problems about policies, laws and acts which are discriminatory against ethnic groups and peoples. There have been several rallies to demand rights, rights of ethnic groups, rights to culture and identity, political rights and the right to participate in the development process. The fight by the Tribal People’s Assembly and the network of other ethnic groups has for the ethnic people themselves brought back dignity and pride in their ethnicity and identity, created wider acceptance, done away with old prejudices and earned respect from the society toward their identity, culture and way of life. The strength of community-based organizations is therefore a vital force in the protection of the rights of the communities and ethnic groups. It is important to seriously enhance the capacity and strength of these organizations. 156. Apart from the Tribes People’s Assembly, there are networks of other ethnic groups, e.g. displaced Thais, Mogens and networks of ethnic groups in southern Esarn as well as organizations of various ethnic groups, network of the civil sector, media organizations and national and international non-governmental organizations, e.g. organizations of these ethnic groups: Hmong, Pakakayaw, Akha, Lahu; Assembly of Tribes People of Thailand, Inter Mountain Peoples Education and Culture in Thailand Association, Highland People Task Force, Hill Area and Community Development Foundation, Lawyers Council of Thailand, Union for Civil Liberty, the Mirror Foundation, Issara Institute, Thailand Journalists Association, UNHCR, etc. Article 7 Strategies on education and teaching, culture and information technology 157. The dissemination of information about the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination in Thailand is considered to be in an initial stage, despite the existence of concepts and guidelines on human rights contained in the Constitution, national policies and several laws after the country’s accession as a State Party to the Convention in 2003. Implementation in these fields is as follows. Education and teaching/learning 158. The National Education Act sets the principle of education management that aims at developing Thai people in a comprehensive manner to enable them to live happily with others, with the learning process that aims to nurture democratic spirit and values and the human rights principles regarding rights, duties, liberties, equality and human dignity. 159. Provision of basic knowledge about the Convention to the government agencies that have direct responsibility and other related educational institutions, e.g. the National Human Rights Commission and the Department of Rights and Liberties Protection. There has been publication of the Convention in Thai-English, study of the guidelines on preparing country reports and production of the Handbook on the Preparation of Country Reports. Mahidol University has translated the general comments adopted by the Committee on the Elimination of Racial Discrimination. 160. Building knowledge and understanding about the Convention through meetings, seminars, workshops, lectures and training organized by and with the concerned government agencies and organizations. The topics are those contained in the curricula of educational institutions that teach human rights, equipped with documents for distribution. For example: 80 155. นอกจากนี้ ในภาคเอกชนมีสมัชชาชนชนเผาแหงประเทศไทยที่กําเนิดขึ้นในป 2542 อันเปนผลมาจากการรวมตัว ของกลุมชาติพันธุหลายๆ กลุมที่ประสบปญหาการถูกละเมิดสิทธิเรื่องตางๆ และโดยการสนับสนุนขององคกรภาค ประชาชนในภาคเหนือเพื่อรวมตัวกันเรียกรองใหรัฐบาลแกไขปญหาเกี่ยวกับนโยบายกฎหมายและการปฏิบัติอันเปนการ เลือกปฏิบัติตอกลุมชาติพันธุและชนเผาที่ตองประสบปญหา มีการชุมนุมตอสูเพื่อสิทธิหลายครั้งทั้งในดานสิทธิของกลุม ชาติพันธุ สิทธิทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ สิทธิทางการเมืองและการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา การตอสูของ สมัชชาชนเผาและเครือขายของกลุมชาติพันธุตางๆไดเรียกคืน ศักดิ์ศรี ความภาคภูมิใจในชาติพันธุและอัตลักษณกลับมา เกิดการยอมรับและความเคารพตออัตลักษณ วัฒนธรรม วิถีชีวิตและลบลางอคติตอกลุมชาติพันธุที่พัฒนาขึ้นมาก ความ เขมแข็งขององคกรชุมชนจึงเปนพลังสําคัญในการปกปองและรักษาสิทธิของชุมชนและกลุมชาติพันธุและเป  นเรื่องสําคัญ ที่ตองสงเสริมศักยภาพและความเขมแข็งขององคกรชุมชนอยางจริงจัง 156. นอกจากสมัชชาชนเผายังมีเครือขายของกลุมชาติพันธุอื่นๆอีก เชน คนไทยพลัดถิ่น มอแกน และเครือขายชาติพันธุ ในอีสานใต ตลอดจนองคกรของกลุมชาติพันธุตาง ๆ เครือขายภาคประชาชน องคกรสื่อตลอดจนองคกรระดับชาติและ องคกรระหวางประเทศอื่นๆอาทิ องคกรของกลุมชาติพันธุ มง ปกากะญอ อาขา ละหู สมัชชาชนเผา สมาคมศูนยรวม การศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย(ศวท.) ศูนยปฏิบัติการรวมเพื่อแกไขปญหาประชาชนบนพื้นที่ สูง (ศปส.) มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา สภาทนายความ สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน มูลนิธิกระจกเงา สถาบันอิศรา สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ฯลฯ รวมถึงสํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหง สหประชาชาติ (UNHCR) เปนตน ขอ 7 มาตรการเกี่ยวกับการศึกษาและการสอนวัฒนธรรมและสารสนเทศ 157. การเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบในประเทศไทยจัดวา ยังอยูในขั้นเริ่มตน แมจะมีแนวคิดและแนวปฏิบัติเรื่องสิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญนโยบายระดับชาติและกฎหมายหลาย ฉบับ หลังจากการลงนามเขาเปนภาคีในป2546 มีการดําเนินการ เชน การศึกษาและการเรียนการสอน 158. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติกําหนดหลักการจัดการศึกษาโดยมุงพัฒนาคนไทยใหสมบูรณครบถวนสามารถอยู รวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขดวยกระบวนการเรียนรูที่มุงปลูกฝงจิตสํานึกประชาธิปไตยและหลักการสิทธิมนุษยชนใน เรื่องสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย 159. การใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอนุสัญญาโดยหนวยงานภาครัฐและสถาบันการศึกษาที่มีภารกิจรับผิดชอบและ เกี่ยวของ เชน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ จัดพิมพอนุสัญญาภาค ภาษาไทย-อังกฤษ และทําการศึกษาแนวทางการจัดทํารายงานประเทศและจัดทําคูมือการจัดทํารายงานประเทศฯ มหาวิทยาลัยมหิดลจัดแปลความเห็นทั่วไปที่รับรองโดยคณะกรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติของ สหประชาชาติออกเผยแพร 160. การสรางความรูความเขาใจในเรื่องของอนุสัญญานี้โดยการจัดประชุมสัมมนา ประชุมปฏิบัติการ บรรยาย ฝกอบรม ของหนวยราชการ/องคการที่เกี่ยวของ และเปนหัวขอในหลักสูตรของสถาบันการศึกษาที่มีการเรียนการสอนเรื่องสิทธิ มนุษยชนพรอมเอกสารเผยแพรเชน 81 (a) Focus Groups conducted by the Department of Rights and Liberties Protection to study and identify problems rooted from race or ethnicity during the initial stage of preparing the first report under this Convention, including a total of 12 workshops in Bangkok and the regions nationwide to jointly prepare the report during 2006–2007. Through the conducted focus groups and workshops, information about the Convention has been disseminated, data collected, both primary and secondary data, and inter-agency cooperation sought in the preparation of the report; (b) Lectures/Training on the Convention. Training courses have been organized for the personnel of the concerned agencies and organizations in all parties, namely the Parliament and the independent organizations under the Constitution in the Legislation; key ministries and departments in the Administration, e.g. Office of the Attorney General, Ministry of Justice, The National Security Council (Institution for Peace Strategies), Ministry of Social Development and Human Security, Ministry of Natural Resource and Environment, etc.; the Courts of Justice at every level in the Judiciary. 161. Through formal education, child rights is incorporated and taught at primary, secondary and university levels. There are curricula on ethnicity in humanities and social subjects in almost all tertiary educational institutions, focusing on social and cultural aspects. Institutions that run courses and teach human rights and rights of ethnic groups directly are for example, the Peace Strategies Study Centre and the Office of Human Rights Studies and Social Development under Mahidol University, and the School of Peace and Governance, King Prajadhipok Institute. 162. As for teaching and learning in the form of non-formal education, the Law Centre of Thammasat University has set up law classrooms on status and rights of persons in the central and local problem areas, in which the persons without personal identification status and other groups of persons deprived of their rights can learn about the process and procedures to apply and legitimately attain their right to personal identification status by law. 163. Surveys and visits to places at risk of rights violation, e.g. prisons, facilities for juvenile offenders and training centres, welfare homes for various groups of disadvantaged people, including police stations and other agencies/organizations whose work relate to the protection of rights. These surveys and visits have been conducted as a two-way communication to survey and listen to problems, exchange ideas and opinions and at the same time to provide information, knowledge, advice and suggestions about rights according to the Convention. These survey and visits have been undertaken by the National Human Rights Commission in collaboration with concerned agencies under the Ministry of Justice and the Ministry of Social Development and Human Security, the National Security Council and others. 164. Disseminate and publicise the Convention through the channels of various forms of media, e.g. print media, radio, television, etc. The Department of Rights and Liberties Protection has issued circulation letters to a total of around 400 government agencies and non-governmental organizations announcing Thailand’s accession as a State Party to the Convention, explaining its key elements and Thailand’s commitments, particularly the preparation of country initial and periodic reports as per requirement by the Convention. 165. Through the print media, the Convention in Thai/English has been published in various forms to reach organizations in the public and private sectors and the general public by the National Human Rights Commission, the Ministry of Social Development and Human Security, the mass media, the press, journals and magazines. Besides, there have been research studies and historical surveys by academics in educational institutions, published news and information, columns and articles on ethnicity published from time to time. And, when problems involving ethnic groups arose, there were some news coverage by the mass media, NGOs, and organizations of the ethnic groups themselves, radio, television, electronic media and the internet, but not much. Usually the news coverage and 82 (ก) การประชุมกลุม (focus group) ของกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพเพื่อศึกษาขอมูลและคนหาประเด็น ปญหาอันเนื่องมาจากเรื่องเชื้อชาติ /ชาติพันธุในขั้นตอนเริ่มตนการจัดทํารายงานของอนุสัญญานี้ และการประชุม ปฏิบัติการเพื่อรวมกันจัดทํารายงาน ในชวงป 2549-2550 รวม 12 ครั้งในกรุงเทพมหานครและภูมิภาคตางๆ ทั่ว ประเทศ ซึ่งไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับอนุสัญญานี้ไปพรอมกับการไดรับขอมูลทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและความ รวมมือในการจัดทํารายงาน ( ข) การบรรยาย /ฝกอบรมเกี่ยวกับอนุสัญญา มีการจัดฝกอบรมบุคลากรของหนวยราชการและองคกรที่ เกี่ยวของทุกฝายโดยฝายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภาและองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญคือ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ ฝายบริหารโดยกระทรวงทบวงกรมตางๆ ที่สําคัญ เชน สํานักงานอัยการสูงสุด กระทรวงยุติธรรม สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ (สถาบันยุทธศาสตรสันติวิธี ) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ฯลฯ ฝายตุลาการมีในศาลยุติธรรมทุกระดับ 161. การจัดการเรียนการสอนมีในระดับประถม มัธยมและอุดมศึกษาในเรื่องสิทธิเด็ก มีหลักสูตรเกี่ยวกับเรื่องชาติ พันธุอยูในวิชาสายสังคมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาแทบทุกแหง โดยเนนดานสังคม วัฒนธรรม สถาบันที่มีหลักสูตร และการเรียนการสอนเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและสิทธิของชาติพันธุโดยตรงมี เชน มหาวิทยาลัยมหิดลมีศูนยศึกษา พัฒนาสันติวิธีและสํานักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม สถาบันพระปกเกลามีสํานักสันติวิธีและธรรมาภิ บาล เปนตน 162. การเรียนการสอนในลักษณะการศึกษานอกโรงเรียนมีศูนยนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จัดหองเรียน กฎหมายดานสถานะและสิทธิบุคคลขึ้นทั้งในสวนกลางและพื้นที่ที่มีปญหาเพื่อใหผูไรสถานะบุคคลและเสียสิทธิกลุม ตางๆ ไดเรียนรูกระบวนการและขั้นตอนดําเนินการเพื่อใหไดสิทธิในการมีสถานะบุคคลที่ถูกตองตามกฎหมาย 163. การสํารวจและเยี่ยมเยียนสถานที่เสี่ยงตอการละเมิดสิทธิ เชน เรือนจํา สถานพินิจและศูนยฝกอบรมเด็ก สถาน สงเคราะหบุคคลประเภทตางๆ ตลอดจนสถานีตํารวจและหนวยงาน /องคกรที่ทํางานเกี่ยวของกับการพิทักษคุมครอง สิทธิในลักษณะการสื่อสาร 2 ทาง เพื่อสํารวจ และรับฟงปญหาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและใหขอมูลความรู ขอแนะนําเรื่องสิทธิตามอนุสัญญาพรอมกันไปดวยดําเนินการโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รวมกับ หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งของกระทรวงยุติธรรม กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย สภาความมั่นคง แหงชาติและหนวยงานอื่นๆ 164. การเผยแพรประชาสัมพันธอนุสัญญาผานสื่อตางๆ ทุกรูปแบบ เชน สื่อสิ่งพิมพ วิทยุ โทรทัศน และสื่ออื่นๆ การ ออกหนังสือเวียนแจงขอมูลการเขาภาคี สาระสําคัญและการจัดทํารายงานประเทศตามพันธกรณีของอนุสัญญา เพื่อ ทราบไปยังหนวยราชการและองคกรเอกชนตางๆ ประมาณ 400 หนวย/องคกร โดยกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ 165. สื่อสิ่งพิมพ มีการเผยแพรอนุสัญญาฉบับภาษาไทย /อังกฤษดวยเอกสารรูปแบบตางๆ แกหนวยงานและ ประชาชนทั่วไป โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด กระทรวงยุติธรรม กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย สื่อมวลชน หนังสือพิมพและวารสาร นิตยสาร เชน เด็กโพสท เปดลิ้นชักเด็ก ตางชาติ โลกใบเยาว วารสาร UNIAP ประเทศไทย ฯลฯ งานศึกษาวิจัยและงานคนควาทางประวัติศาสตรของ นักวิชาการจากสถาบันการศึกษา การจัดทําขาวสาร ขอมูล ขอเขียนและบทความเกี่ยวกับเรื่องชาติพันธุเผยแพรเปน ระยะและเมื่อเกิดปญหาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุ ทั้งโดยสื่อมวลชน องคกรภาคเอกชน และโดยองคกรของชนเผาเอง สื่อ วิทยุ โทรทัศน สื่ออิเล็คทรอนิคส และอินเตอรเน็ตมีบางเปนครั้งคราว แตยังไมมากนัก โดยสวนใหญเปนขอมูลทาง เว็บไซต 83 relevant information appeared on websites of newspapers, universities and NGOs, and through other media, e.g. P.O. Box of the Ministry of Social Development and Human Security, Ministry of Justice and the Department of Rights and Liberties Protection to hear about problems and give counseling suggesting solutions to the problem issues. Other media include exhibitions, voice recordings, recorded video clips, plays/drama, puppets, etc., although still limited. 166. Academic research. On the academic side, there have been research studies conducted by academic institutions, both at the national and sub-national levels. Furthermore, there have been documentaries produced, columns and articles on the rights of ethnic groups published from time to time, particularly when problems of rights violation arose involving ethnic groups. However, not much attempt has been made to relate these problem issues directly to the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination. 167. Promotion and support for the personnel involved in the judicial process to adhere to the principles of equality and attention to equal rights under the court and justice system. Training on human rights have been organized for the personnel involved in the justice process, detailing every step and procedure, by both the public and private sectors, namely: (a) The Courts of Justice has held training for judges at every level, namely Assistant Judges, First Instance Judges and Senior Judges on the topics of human rights, child rights, women’s rights, rights of people in general and rights of ethnic groups in special areas. The training of independent interpreters at national and regional levels have been included as an annual mission since 2003, producing not less than 60 interpreters a year to assist the persons who came into the justice system and could not speak the Thai language. Although the number of interpreters produced has not met the demand, there has been additional assistance from the private sector, e.g. the Lawyers’ Council, communitybased organizations of the ethnic groups and from international organizations; (b) Training that includes the topic of human rights has been held for government officials involved in the justice process at various stages, namely policemen, attorneys, corrections officers, doctors and social workers. Such training has been given as part of the profession-specific orientation before new officers are put to work, or being promoted to higher positions at all levels. And as for policemen in several areas, they have practised announcing the eligible rights of the persons being arrested before they made the arrest; (c) The Ministry of Social Development and Human Security has held training courses for the operation officers in the regions, whose work involves the prevention and solution of the human trafficking problem, namely the rural border police, Immigration police officers, Welfare and Labour Protection Officers, Social Development and Human Security Officers. These training courses are under a regular project that rotates project sites in different areas throughout the country. For example, General Training Course for Operation Officers, Training Course for Officers involved in Assisting, Rehabilitating, Protecting and Reintegrating the Victims of Human Trafficking, consisting of social workers, psychiatrists and medical and public health personnel mainly in the target group. Besides, the Workshop on the Preparation of Provincial Operation Plans to Prevent and Solve the Human Trafficking Problem is the training event that gathers personnel from the local administration agencies, non-governmental organizations and community networks. The Workshop for the Regional Anti-Human Trafficking Multi-Disciplinary Team, etc; (d) The Ministry of Justice has held training for the concerned personnel involved in rights protection from various agencies, training of Witness Protection Officers, Corrections Officers, as well as training for the Community Justice Network. Cultural 168. The information has already been presented in section 5 (e) (vi) as above. 84 ของหนังสือพิมพ มหาวิทยาลัยตางๆ และเว็บไซตของภาคเอกชน สื่ออื่นๆ เชน ตู ปณ. ของกระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย กระทรวงยุติธรรม และกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพเพื่อรับฟง/ใหคําแนะนําชวยแกไขปญหา การจัดนิทรรศการ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ ละคร หุน ฯลฯ มีบางแตยังไมมากนัก 166. ดานวิชาการมีงานศึกษาวิจัยของสถาบันวิชาการและสถาบันการศึกษาตางๆ ทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค ใน ดานสารคดีบทความและขอเขียนเกี่ยวกับสิทธิของกลุมชาติพันธุมีอยูเปนระยะ เมื่อเกิดปญหาการละเมิดสิทธิ แตยัง มิไดมีการโยงขอมูลถึงอนุสัญญาขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติโดยตรงนัก 167.การสงเสริมบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมใหคํานึงถึงหลักความเสมอภาคและใสใจตอสิทธิเทาเทียมกันภายใต ศาลและกระบวนการยุติธรรม มีการฝกอบรมเรื่องสิทธิมนุษยชนสําหรับบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทุกกลุม ทุก ขั้นตอนของกระบวนการทั้งโดยภาครัฐและเอกชน กลาวคือ (ก) ศาลยุติธรรมมีการฝกอบรมผูพิพากษาทุกระดับ ไดแก ผูชวยผูพิพากษา ผูพิพากษาศาลชั้นตน และผู พิพากษาระดับบริหาร ดวยหัวขอเรื่องสิทธิมนุษยชน สิทธิเด็ก สิทธิสตรี สิทธิของประชาชนทั่วไปและสิทธิของกลุม ชาติพันธุในพื้นที่พิเศษ มีการฝกอบรมลามอิสระทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาคเปนภารกิจประจําตั้งแตป 2546 ปละ ไมนอยกวา 60 คน เพื่อชวยเหลือผูเขาสูกระบวนการยุติธรรมที่ไมสามารถใชภาษาไทยได ซึ่งแมจะเปนจํานวนที่ยังไม เพียงพอกับความตองการ ก็ยังมีความชวยเหลือเพิ่มเติมจากภาคเอกชน เชน สภาทนายความ สถาบันวิชาการดาน กฎหมาย องคกรชุมชนของกลุมชาติพันธุและองคการระหวางประเทศ (ข) เจาหนาที่รัฐผูเกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมในขั้นตอนตางๆ คือ ตํารวจ อัยการ เจาหนาที่ราชทัณฑ รวมถึงแพทยและนักสังคมสงเคราะห มีการฝกอบรมที่บรรจุหัวขอเรื่องสิทธิมนุษยชนทั้งในขั้นตอนการศึกษาเฉพาะ สําหรับวิชาชีพในการปฐมนิเทศกอนเริ่มประจําการ และมีในหลักสูตรฝกอบรมเลื่อนระดับทุกขั้นตอน และสําหรับ เจาหนาที่ตํารวจหลายพื้นที่มีการแจงสิทธิตอผูถูกจับกุมกอนการจับกุมดวย (ค) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยมีการฝกอบรมเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานการปองกันแกไข ปญหาการคามนุษยในสวนภูมิภาค ไดแก ตํารวจภูธร เจาหนาที่ตํารวจตรวจคนเขาเมือง เจาหนาที่สวัสดิการและ คุมครองแรงงาน และเจาหนาที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยการฝกอบรมตามหลักสูตรนี้เปนโครงการ ประจําดําเนินการหมุนเวียนในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศ ไดแก หลักสูตรฝกอบรมเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทั่วไป หลักสูตร ฝกอบรมเจาหนาที่ชวยเหลือฟนฟูคุมครองและสงกลับเหยื่อ ซึ่งมีนักสังคมสงเคราะห นักจิตวิทยา และบุคลากรดาน การแพทยและสาธารณสุขอยูในกลุมเปาหมายดวย นอกจากนี้มีการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนปฏิบัติการ ปองกันแกไขปญหาการคามนุษยระดับจังหวัด ซึ่งรวมบุคลากรขององคการบริหารสวนทองถิ่น องคการเอกชน และ เครือขายชุมชน การอบรมเชิงปฏิบัติการทีมสหวิชาชีพเพื่อตอตานการคามนุษยระดับภูมิภาค เปนตน (ง) กระทรวงยุติธรรม มีการฝกอบรมบุคลากรดานการคุมครองสิทธิที่มาจากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ การ ฝกอบรมเจาหนาที่คุมครองพยาน เจาหนาที่ราชทัณฑ ตลอดจนการฝกอบรมเครือขายยุติธรรมชุมชน ดานวัฒนธรรม 168. ขอมูลนําเสนอแลวในขอบัญญัติที่ 5(ฉ) (6) 85 Information technology 169. The role of the media in the government sector. Implementation has been carried out by the related agencies and task force units working intensively on enhancing reconciliation in certain areas of the country. For example, regarding the three southern border provinces, the main responsible agencies have cooperated to produce and disseminate materials containing information to raise awareness and understanding of the general public about the lifestyle, culture and religion of the Thai Muslims in that area. To illustrate further, the National Security Council has devised policies on conflict management by peaceful means and laid down national security policies that aim at creating an environment conducive to peace and happiness on the foundation of people’s security. The National Reconciliation Commission has conducted a study of the situation in the three southern border provinces from the historical, social and environmental perspectives, and laid down a set of guidelines for the enhancement of reconciliation there, which have already been submitted to the government with a view to implementing them. There are also a number of educational institutions and non-governmental organizations which are responsible for the implementation process. 170. There have been some instances of ethnic groups seeking cooperation from the media. Thus media mobilization is an area that should be further tapped by all sectors: the government sector, the private sector, the civil society and the ethnic groups themselves. However, the mass media organizations, either radio, television or newspapers, out of their professional ethics and social responsibility in presenting news and information to the public, have attempted to seek and compile information and stories on various issues from different sources and from different perspectives in order to reflect real situations and problems and open channels of communication through their news presentation, to promote good understanding among the various groups of people in the country and across nations. Certain groups of media, foundations, including non-governmental media organizations have played a role in closely reflecting the problems of the communities, the areas or the ethnic groups, especially in problematic areas. 171. A mechanism set up to be directly responsible for the Convention is the Committee on the Promotion of the Elimination of All Forms of Racial Discrimination of the Department of Rights and Liberties Protection under the Ministry of Justice, which was formed in March 2007. The duties and responsibilities of the Committee are to set implementation guidelines, prepare reports, propagate knowledge and understanding, and recommend amendments of laws, rules and regulations relating to the elimination of racial discrimination. The Committee has the power to appoint sub-committees to assist in its work, and three sub-committees were initially set up, namely the Sub-Committee on Laws and Measures, the Sub-Committee on Publicity and Public Relations, and the SubCommittee on Country Report Preparation. This Committee on the Promotion of the Elimination of All Forms of Racial Discrimination will be the main organization in charge of planning on the matter and publicizing the Convention extensively in a systematic manner. IV. Implementation of the Durban Declaration and Programme of Action by Thai Government agencies 172. None of Thailand’s policies or laws condones division by social class, skin colour or race under constitutional monarchy and its social system. The Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007) contains principles that abide by the Convention and Durban Declaration and Programme of Action and it has provisions on principles of human rights and all forms of non-discrimination, i.e. Section 4, 5, 30 and 66. 173. The Ministry of Public Health has developed policy recommendations to enable people who have resided in Thailand for a long time or those who were born in Thailand but their nationalities could not be proved, to enjoy the Universal Health Coverage regardless of their nationality identification and civil registration status. The 86 ดานสารสนเทศ 169. บทบาทของสื่อภาครัฐ มีการดําเนินงานของหนวยงานและองคกรเฉพาะกิจที่ทํางานเรงรัดเสริมสรางความ สมานฉันทในพื้นที่ตางๆ เชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต หนวยงานหลักรวมมือกันจัดทําและเผยแพรขอมูล เสริมสรางใหสังคมสวนรวมไดเขาใจคนในพื้นที่ทั้งในดานวิถีชีวิต วัฒนธรรมและศาสนา เชน สภาความมั่นคงแหงชาติ จัดทํานโยบายการจัดการความขัดแยงดวยสันติวิธีและนโยบายความมั่นคงแหงชาติที่มุงสรางสภาวะแวดลอมสันติสุข บนพื้นฐานความมั่นคงของประชาชน คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันทแหงชาติทําการศึกษาสภาพการณใน พื้นที่ทั้งดานประวัติศาสตร สังคม สิ่งแวดลอม และวางแนวทางเสริมสรางความสมานฉันทเสนอตอรัฐบาลเพื่อนําไปสู การปฏิบัติ ดานวิชาการมีสถาบันการศึกษาและองคการเอกชนหลายแหงชวยกันดําเนินการเรื่องนี้ 170. การแสวงหาความรวมมือจากสื่อโดยกลุมชาติพันธุพอมีอยูบาง แตยังเปนเรื่องที่ตองรวมกันเรงรัดสงเสริมจากทุก ฝายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนและกลุมชาติพันธุเองอยางไรก็ตาม สื่อมวลชน ทั้งวิทยุโทรทัศน และ หนังสือพิมพทุกองคกรในฐานะที่รับผิดชอบตอการเสนอขาวสารขอมูลตอสังคมไดพยายามเสาะแสวงหาและประมวล ขอมูลในเรื่องตางๆ จากหลายแหลงและหลายมุมมองนําเสนอขอมูลขาวสารตอสังคมเพื่อสะทอนปญหาและสรางชอง ทางการสื่อสาร สงเสริมความเขาใจระหวางกลุมคนตางๆ ในชาติและระหวางประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ประสบ ปญหา มีสื่อหลายกลุม มูลนิธิ รวมถึงองคกรเอกชนดานสื่อ ไดมีบทบาทสะทอนปญหาของชุมชน พื้นที่ หรือกลุมชาติ พันธุอยูอยางใกลชิด 171. การจัดตั้งกลไกรับผิดชอบตออนุสัญญาโดยตรงคือคณะกรรมการสงเสริมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติใน ทุกรูปแบบของกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ซึ่งแตงตั้งขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม 2550 ดวยอํานาจ หนาที่รับผิดชอบในการวางแนวทางการดําเนินงาน จัดทํารายงาน เผยแพรความรูความเขาใจ เสนอแนะการแกไข กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ และมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นชวย ปฏิบัติงาน ซึ่งในเบื้องตนไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการขึ้น 3 ดานคือ คณะอนุกรรมการดานกฎหมายและมาตรการ ดาน การเผยแพรและประชาสัมพันธ และดานการจัดทํารายงานประเทศ องคกรนี้จะเปนองคกรรับผิดชอบ วางแผนและ ดําเนินการเผยแพรประชาสัมพันธอนุสัญญาอยางเปนระบบและกวางขวางตอไป สวนที่ 4 การอนุวัติปฏิญญาและแผนปฏิบัติการเดอรบันของหนวยราชการไทย 172. ประเทศไทยไมมีนโยบายหรือกฎหมายแบงแยกชนชั้น สีผิวหรือเชื้อชาติในระบบการปกครองและสังคมไทย และ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มีหลักการสอดคลองกับปฏิญญาและแผนปฏิบัติการเดอรบัน โดยมี ขอบัญญัติเกี่ยวกับหลักสิทธิมนุษยชนและการไมเลือกปฏิบัติทุกรูปแบบ ไดแก มาตรา 4, 5, 30 และ 66 173. กระทรวงสาธารณสุขไดพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบายใหประชาชนที่อาศัยอยูในไทยเปนเวลานานหรือที่เกิดใน ประเทศไทยแตยังพิสูจนสัญชาติไมไดใหมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา โดยใหแยกออกจากเรื่องการพิสูจนสัญชาติและ 87 recommendations are being pushed for enactment into law based on the principle of creating a healthy society, in which disease surveillance, prevention and control is needed in order to prevent the spread of communicable diseases among all groups of population in Thailand without exception of any particular groups of people. 174. The Ministry of Public Health also set up the Migrant Health Committee to implement these five migrant health strategies as follows: (a) Set up a public health services delivery system for the migrants, which suits their circumstances and takes into consideration their limitations; (b) Provide health security assurance to the registered migrants or ensure that they can enjoy the ‘Universal Health Coverage’; (c) Promote and support the participation of migrants and their communities in looking after individuals and their families’ health; (d) Cooperate with the Ministry of Labour in developing an information technology system to collect data in all dimensions about the migrant; (e) Arrange administrative system to support the implementation of the aforementioned migrant health strategies. 175. Furthermore, the second part of the Durban Declaration and Programme of Action urges the State Parties to build and strengthen national mechanisms to promote and protect the rights of the patients of dangerous communicable diseases, such as HIV/AIDS. In this regard, Thailand has enacted the National Health Security ActB.E.2545 to ensure the rights of all HIV/AIDS patients to access to anti-viral drugs and medical treatment needed and social support. 176. The Ministry of Education gives importance to the management of education of all levels and for all people, whether Thais or persons without Thai nationality. The cabinet approved the proposal of the Ministry of Education on 5 July 2005 to implement measures to manage education for the persons without civil registration proof or status who live in Thailand, giving them access to enroll in any educational institutions of any level, category, course or education zone. The Ministry of Education has the power to allocate budget as subsidies to cover per head expenses to the educational institutions which arrange education for the persons without civil registration proof or without Thai nationality. As for the persons who fleeing from fighting outside Thailand, the Ministry has arranged for their education in the shelter centres, focusing on the teaching of Thai language to foster understanding and enable them to communicate properly, which has been an operation conducted in joint cooperation with organizations in the civil society sector. 177. The Ministry of Social Development and Human Security enacted the Human Trafficking Prevention and Suppression Act in 2008. The law provides for assistance, remedy, shelter and rehabilitation for the victims of human trafficking, Thais or non-Thais equally. The Ministry has also run a campaign to raise awareness about this Act, especially in areas where alien communities live. 178. The Ministry of Justice enacted the Act on Victim Compensation and Expense Reimbursement in Criminal Cases in 2001, specifying that financial assistance and remedy be given to all victims equally and without racial discrimination, and that legal assistance and the handling of complaints be serviced to all people promptly and without racial discrimination. Besides, the Ministry has compiled a set of National Standards on Treatment toward Prisoners or Violators, based on non-discrimination either by race, skin colour, gender, age, language or social background, as stipulated in the United Nations standards, e.g. Standard Minimum Rules for the Treatment of Prisoners, or principles with regard to detainees or prisoners. 179. The Ministry of Labour enacted the Labour Protection Act B.E. 2541 (1998) and (No. 2) 2008, aiming toward protection of equal treatment in employment, regardless of the race, nationality, age or gender of the employees. Most recently, the Ministry amended the 88 สถานะทางทะเบียน โดยขอเสนอดังกลาวกําลังไดรับการผลักดันใหออกเปนกฎหมาย บนหลักการการสรางสังคมให เปนสังคมที่สุขอนามัยดี จําเปนตองมีการเฝาระวัง ควบคุม และปองกันการแพรกระจายของโรคติดตอในประชาชนทุก กลุมที่อาศัยอยูในไทย จะละเวนประชาชนกลุมใดกลุมหนึ่งมิได 174. กระทรวงสาธารณสุขยังไดจัดตั้ง Migrant Health Committee เพื่อดําเนินยุทธศาสตรแรงงานขามชาติ 5 ดาน คือ (1) จัดใหมีระบบบริการสาธารณสุขสําหรับประชากรตางดาวที่สอดคลองกับภาวะและขอจํากัดของประชากร ตางดาว (2) สรางหลักประกันสุขภาพใหประชากรตางดาวที่จดทะเบียน หรือมีหลักประกันสุขภาพถวนหนาในอนาคต (3) สงเสริมการมีสวนรวมของประชากรและชุมชนตางดาวในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว (4) รวมกับกระทรวงแรงงานเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเก็บขอมูลในทุกมิติที่เกี่ยวกับประชากรตางดาว และ (5) สงเสริมใหมีการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานยุทธศาสตรสาธารณสุขตางดาว 175. นอกจากนี้ สวนที่สองของแผนปฏิบัติการเดอรบันเรียกรองใหรัฐเสริมสรางกลไกระดับชาติเพื่อสงเสริมและ คุมครองสิทธิของผูปวยของโรคติดตอรายแรง อาทิ โรคเอดสใหแข็งแกรงขึ้น ซึ่งไทยไดออก พ.ร.บ. หลักประกัน สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ประกันสิทธิของผูปวยโรคเอดสใหเขาถึงยาและการรักษาทุกคน 176. กระทรวงศึกษาธิการ ใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยไมจํากัดวาเปนคนไทยหรือไมมีสัญชาติ ไทย ทั้งนี้ ครม. ไดเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2548 ตามขอเสนอของกระทรวง ศึกษาธิการ กําหนดใหมีมาตรการ จัดการศึกษาแกบุคคลที่ไมมีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือบุคคลที่ไมมีสถานะทางทะเบียนที่อาศัยอยูในประเทศ ไทย ไดเขาเรียนในสถานศึกษาโดยไมจํากัดระดับ ประเภท หลักสูตร และพื้นที่การศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ สามารถดําเนินการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนเปนคาใชจายรายหัวใหแกสถานศึกษาที่จัดการศึกษาใหกับบุคคลที่ไมมี หลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไมมีสัญชาติไทยได ในสวนของผูหนีภัยจากการสูรบกระทรวง ศึกษาธิการไดจัด การศึกษาใหแกผูหนีภัยในศูนยพักพิง โดยเนนการสอนภาษาไทยเพื่อสรางความเขาใจและสื่อสารไดถูกตอง โดย รวมมือดําเนินการกับองคกรภาคประชาสังคม 177. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดออก พ.ร.บ. ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 โดยใหความชวยเหลือเยียวยา ใหที่พักพิง และฟนฟูเหยื่อการคามนุษยทั้งชาวไทยและผูไมมีสัญชาติไทย โดยเสมอภาคและเทาเทียมกัน ตลอดจนไดรณรงคเพื่อสรางความตระหนักรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ฉบับนี้ โดยเฉพาะใน สถานที่ที่มีชุมชนชาวตางดาว 178. กระทรวงยุติธรรม ไดออกกฎหมายวาดวยคาตอบแทนผูเสียหายขึ้นในป พ.ศ. 2544 โดยกําหนดใหมีการ ชวยเหลือเยียวยาทางการเงินแกเหยื่อผูเสียหายโดยเสมอภาค และไมมีการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ใหบริการความ ชวยเหลือทางกฎหมายและการรับเรื่องราวรองทุกขแกประชาชนโดยไมเลือกปฏิบัติวาเปนคนสัญชาติใด นอกจากนี้ ยัง ไดจัดทํามาตรฐานแหงชาติวาดวยการปฏิบัติตอผูตองขังหรือผู กระทําผิดโดยไมแบงเชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ ภาษาหรือ พื้นฐานทางสังคมตามที่ระบุไวในมาตรฐานของสหประชาชาติ อาทิ มาตราขั้นต่ําวาดวยการปฏิบัติตอผูตองขัง หรือ หลักการผูถูกคุมตัวหรือนักโทษ เปนตน 179. กระทรวงแรงงาน ไดออก พ.ร.บ. คุม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ซึ่งมุงคุมครองการ ปฏิบัติอยางเทาเทียมกันในการจางงาน โดยไมคํานึงวาลูกจางจะมีเชื้อชาติ สัญชาติ วัย หรือเพศใด และลาสุดได ปรับปรุง 89 Aliens Work Act B.E. 2551 (2008) to correspond with the current migrant worker situation, to improve welfare for migrant workers and prevent them from being exploited by employers. Moreover, the Ministry has implemented the registration of migrant workers who have entered Thailand illegally to legitimize them as legal workers. It has also entered into employment agreements with neighbouring countries in order to make Thailand’s management of migrant workers more balanced between the principles of human rights, which do not condone racial discrimination, and the national security considerations. 180. The Ministry of Interior improved the nationality law by initiating enactment of the Nationality Act (No. 4) B.E.2551 (2008), which provides for the restoration of Thai nationality to the persons whose nationality was revoked and denied by the Revolutionary Decree No. 337. This law guarantees the right to gender equality in the acquisition, loss and return of nationality; specifies conditions for the persons who were born in Thailand but were not granted Thai nationality regarding their stay in Thailand, with due consideration based on human rights principles as well as national security concerns. Besides, the Ministry revised the Civil Registration Act (2nd Edition) B.E. 2551 (2008), providing for birth registration and issuance of birth certificates to all children, as well as recording of civil registration and personal history for persons without Thai nationality who are residing in the kingdom. 181. The National Security Council – The National Security Policies, 2007–2011 set main objectives to enhance an environment conducive to making all peoples of the nation live in harmony amongst their cultural diversity, and respect equality and human dignity of one another. The policies also aim to promote cross-cultural learning, in order to avoid ethnicity-related insults, and to create positive attitudes of similarity and togetherness so that people can live together in peace and harmony. Moreover, the Council laid down “Strategies to address the problem about the status and rights of persons” in 2005 to solve the problem regarding displaced persons or illegal migrants from neighbouring countries. It had surveys conducted to record the personal history of the target people, and provided for these people to enjoy the essential basic rights, with due consideration based on a fine balance between human rights principles and national security concerns. 182. The Office of the National Economic and Social Development Board has integrated the protection of equal rights and liberties of the people and the elimination of discrimination in the 10th National Economic and Social Development Plan, 2007–2011. It has set directions and strategies for enhancing unity of the nation, so that all Thai people can live together happily in society. The plan aims to develop an economic and social protection system which is diverse and extensive; promote safe, pleasant and healthy way of living on the basis of social justice; strengthen the justice system in an integrated manner, along with reinforcing the exercise of laws; build conscience about rights and duties of citizens; and raise awareness about values and respect for human dignity to reduce conflict. V. Conclusion 183. Thailand is geographically situated at the centre of South East Asia Region, and has borders of longer than 4,000 kilometres. It is surrounded by neighbouring countries, the peoples of which migrate back and forth across one another due to economic and political situations. Therefore, Thailand has a mixed population, consisting of over 60 diverse ethnic groups, who have lived together for a long time. 184. The migration of the population in the region has made Thailand’s demographic structure in terms of ethnicity changing all the time, thus affecting its management of population and the status of persons, which are the root causes of human rights problems in other aspects. These problems are those such as people’s status, allocation of resources and land for cultivation, access to basic educational and public health services, labour and occupational problems, understanding the culture of one another, strength of local communities in the conservation of their own resources, culture, values and identity, 90 พ.ร.บ. การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2551 เพื่อใหสอดคลองกับการเคลื่อนยายแรงงานในปจจุบัน ปรับปรุงสวัสดิ ภาพของแรงงานตางดาว และปองกันมิใหถูกนายจางเอารัดเอาเปรียบ นอกจากนี้ กระทรวงแรงงานยังไดดําเนินการ จดทะเบียนใหแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมายเปนแรงงานถูกกฎหมาย ตลอดจนไดจัดทําความตกลง รวมมือดานการจางงานกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหการบริหารจัดการแรงงานตางดาวมีความสมดุลตามหลักสิทธิ มนุษยชนที่ไมมีการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติและความมั่นคงของประเทศ 180. กระทรวงมหาดไทย ไดปรับปรุง พ.ร.บ. สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งกําหนดใหมีการคืนสัญชาติใหกับ บุคคลที่ถูกถอดถอนและไมไดสัญชาติตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 337 กําหนดสิทธิความเทาเทียมระหวางชายหญิง เกี่ยวกับการไดสัญชาติ การเสียสัญชาติ และการขอกลับคืนสัญชาติ รวมทั้งกําหนดเงื่อนไขการอยูในราชอาณาจักรของ บุคคลที่เกิดในราชอาณาจักรแตไมไดสัญชาติโดยใชหลักสิทธิมนุษษยชนเปนพื้นฐานการพิจารณาควบคูไปกับปจจัย ดานความมั่นคง นอกจากนี้ ยังไดปรับปรุง พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กําหนดใหมีการจด ทะเบียนการเกิด การออกสูติบัตรใหกับเด็กทุกคน รวมทั้งการจัดทําทะเบียนราษฎรและทะเบียนประวัติกับคนที่อาศัย อยูในราชอาณาจักรเปนตน 181. สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ นโยบายความมั่นคงแหงชาติ พ.ศ. 2550-2554 มีวัตถุประสงคในการ เสริมสรางสภาวะแวดลอมใหคนภายในชาติอยูรวมกันภายใตความหลากหลายทางวัฒนธรรม เคารพศักดิ์ศรีความเทา เทียมกันของความเปนมนุษย รวมทั้งสงเสริมการเรียนรูขามวัฒนธรรม เพื่อมิใหมีการดูหมิ่นชาติพันธุ แตใหมีทัศนคติที่ ดีมีความรูสึกเปนพวกเดียวกัน และสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข นอกจากนี้ ยังไดจัดทํายุทธศาสตรการจัดการ ปญหาสถานะและสิทธิของบุคคล พ.ศ. 2548 เพื่อแกปญหาผูอพยพหรือโยกยายถิ่นที่ลักลอบหลบหนีเขามาจาก ประเทศเพื่อนบาน โดยดําเนินการสํารวจจัดทําทะเบียนประวัติ รวมทั้งกําหนดใหไดรับสิทธิขั้นพื้นฐานที่จําเปนภายใต ความสมดุลระหวางสิทธิมนุษยชนและความมั่นคงของชาติ 182. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดบรรจุประเด็นการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชนอยางเสมอภาคและการขจัดการเลือกปฏิบัติไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 โดยไดกําหนดยุทธศาสตรใหมีแนวทางการเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติสุข พัฒนาระบบการคุมครองทางเศรษฐกิจและสังคมที่หลากหลายและครอบคลุมทั่วถึง สงเสริมการดํารงชีวิตที่มีความ ปลอดภัย นาอยู บนพื้นฐานของความยุติธรรมในสังคม เสริมสรางกระบวนการยุติธรรมแบบบูรณาการและการบังคับ ใชกฎหมายอยางจริงจังควบคูกับการเสริมสรางจิตสํานึกดานสิทธิและหนาที่ของพลเมือง และตระหนักถึงคุณคาและ เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเพื่อลดความขัดแยง สวนที่ 5 สรุป 183. ประเทศไทยมีสภาพภูมิศาสตรที่ตั้งอยูใจกลางภูมิภาคเอเชียอาคเนย มีพรมแดนรอบดานที่ยาวกวา 4,000 กิโลเมตร รอบลอมดวยประเทศเพื่อนบานที่มีการอพยพเคลื่อนยายกันไปมาเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจและการเมือง จึง มีประชากรที่ผสมผสานกันหลากหลายดวยกลุมชาติพันธุตางๆ ที่อยูรวมกันมายาวนานจํานวนมากกวา 60 ชาติพันธุ 184. การอพยพเคลื่อนยายของประชากรในภูมิภาค ทําใหโครงสรางประชากรในดานชาติพันธุเคลื่อนไหวอยู ตลอดเวลา สงผลตอการบริหารจัดการดานประชากรและสถานะบุคคลซึ่งเปนพื้นฐานของปญหาสิทธิมนุษยชนในดาน อื่นๆ โดยเฉพาะปญหาในเรื่องสถานะบุคคล การจัดสรรทรัพยากรและที่ดินทํากิน การเขาถึงบริการพื้นฐานดาน การศึกษาและสาธารณสุข ปญหาดานแรงงานและประกอบอาชีพ ความเขาใจในวัฒนธรรมของกันและกัน ความ เขมแข็งของชุมชนทองถิ่นในการรักษาทรัพยากร วัฒนธรรม คานิยม และอัตลักษณของแตละกลุม การเผยแพรความรู 91 knowledge dissemination and awareness raising about their own basic rights, lack of systematic compilation of data about ethnic groups, lack of knowledge and understanding about human rights of law enforcement officers, and insufficiently effective law enforcement. 185. The Thai government has made continuous effort to address these issues. To date, gradual progress has been made, by building on the existing internal basic structures and mechanisms, which can respond to the problems to a certain level, both under the legal framework and in terms of policy. Another contributing factor is the tremendous support from organizations in the private and civil society sectors, which have played a strong role in fighting for the rights of various ethnic groups in Thailand for a long time. At the same time, community-based organizations have begun to play a clearer and stronger role in protecting the interests of their communities. 186. Thailand realizes that there are yet problems to solve, and is determined to continue its implementation in promoting and protecting the rights of all groups of people in the society, as well as in intensifying the provision of legal knowledge; educating about rights and liberties and awareness raising about basic human rights, with an aim to constantly improve the quality of life of all people, of every ethnic group in an equitable manner, so that all people will accept and respect equality and human dignity of one another, which is the foundation of peaceful co-existence. 92 และการสรางความตระหนักเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐานของตนเอง การขาดการจัดเก็บระบบขอมูลเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุ ที่เปนระบบ การขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย และการบังคับใช กฎหมายที่ยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ รัฐบาลไทยไดพยายามแกไขปญหาเหลานี้มาอยางตอเนื่อง ซึ่งจนถึงปจุบัน นับวามีพัฒนาการกาวหนาตามลําดับ โดยไดจัดทําโครงสรางและกลไกพื้นฐานภายในที่เอื้อรองรับปญหาอยูแลวระดับ หนึ่งทั้งในกรอบของกฎหมายและนโยบาย ประกอบกับการสนับสนุนขององคกรภาคเอกชนและภาคประชาสังคมที่มี บทบาทผลักดันอยางเขมแข็งตอสูเพื่อสิทธิของกลุมชาติพันธุตางๆ ในไทยตลอดมาอยางยาวนาน ในขณะเดียวกัน องคกรชุมชนเริ่มมีบทบาทที่จะเขามาปกปองผลประโยชนของชุมชมที่ชัดเจนและเขมแข็งขึ้น ทั้งนี้ ประเทศไทย ตระหนักดีวายังมีปญหาที่ตองแกไข และมุงมั่นที่จะดําเนินการสงเสริมสิทธิของชนทุกกลุมในสังคมอยางตอเนื่อง ตลอดจนพยายามเรงรัดสรางความรูความเขาใจในเรื่องสิทธิมนุษยชนพื้นฐานใหมากขึ้นโดยมีเปาหมายเพื่อใหคุณภาพ ชีวิตของประชาชนทุกกลุมชาติพันธุในประเทศพัฒนาขึ้นตลอดเวลาอยางเทาเทียมกัน เพื่อใหเกิดการยอมรับในความ เสมอภาคและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของกันและกันอันเปนพื้นฐานของการอยูรวมกันโดยสันติสุข 93 List of Tables Table 1 Classification of Ethnic Groups by Language Families Table 2 Statistics of Communities on the Highlands in 20 Provinces of Thailand Classified by Ethnic Groups Table 3 Number of Ethnic Group Population in the Northeast (Esan) by Language Family Group Table 4 Statistics on Legal Counseling Requests and Provision and Complaints – Nationwide and in 5 Southern Border Provinces, Classified by Types of Issues, Fiscal Year 2006 Table 5 Summary of Travel In-Out of Thailand during 2006-2007 Table 6 Summary of Complaints Received in 2002-2003, National Human Rights Commission Table 7 Summary of Complaints, Classified by Types of Violators, 2006, National Human Rights Commission Table 8 Statistics of Financial Assistance to the Victims and Defendants in Criminal Cases, Years 2002-2006 Table 9 Statistics on Categories of Criminal Offences that Witnesses have Filed Requests for Protection to the Witness Protection Office, Fiscal Year 2006 94 ตารางแสดงขอมูลประกอบรายงาน ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 แสดงการจําแนกกลุมชาติพันธุตามตระกูลภาษา แสดงขอมูลชุมชนบนพื้นที่สูง 20 จังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2545 แสดงจํานวนของประชากรกลุมชาติพันธุตามตระกูลภาษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) สถิติเรื่องที่ขอรับและใหคําปรึกษาทางกฎหมายและเรื่องราวรองทุกขทั่วประเทศสําหรับ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใตปงบประมาณ 2549 จําแนกตามประเภทเรื่อง ตารางที่ 5 สรุปการเดินทางเขา-ออกประเทศไทยป 2549 และป 2550 ตารางที่ 6 สรุปผลการรับเรื่องรองเรียนป พ.ศ. 2545 และ 2546 (ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ) ตารางที่ 7 สรุปผลการรับเรื่องรองเรียน จําแนกตามประเภทของผูกระทําละเมิด ( คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ) ตารางที่ 8 สถิติการชวยเหลือทางการเงินแกผูเสียหายและจําเลยในคดีอาญา ป 2545-2549 ตารางที่ 9 สถิติกลุมความผิดอาญาที่พยานยื่นคํารองขอรับการคุมครองความปลอดภัย ณ สํานักงานคุมครองพยานประจําปงบประมาณ 2549 95 Table 1: Classification of Ethnic Groups by Language Families (5 Language Families, 62 Ethnic Groups) U U 5 Language Families (Tai) (Austroasiatic) 24 Groups 22 Groups 1. Kaleung 1. Kasong 2.Kammuang/Yuan 2. Kuy/Kuay (Northern Thai) 3. Khmu 3. Tai Dam 4. Thailand Khmer/ Northern 4. Nyaw Khmer 5. Tai Khun 5. Chong 6. Central Thai 6. Sa-oc 7. Thai Korat 7. Sakai (Kensiw/Manique( 8. Thai Takbai 8. Samre 9. Thai Loei 9. So (Thavuang) 10. Tai Lu 10. So 11. Tai Ya 11. Nyah Kur (Chaobon) 12. Tai Yai, Shan 12. Nyeu 13. Southern Thai 13. Bru (Kha) 14. Phu Thai 14. Plang (Samtao, Lua) 15. Phuan 15. Palaung (Dala-ang) 16. Yong 16. Mon 17. Yoy 17. Mal-Pray (Lua/Tin) 18. Lao Khrang 18. Mlrabri (Tongluang) 19. Lao Ngaew 19. Lamet (Lua) 20. Lao Ti 20. Lavua (Lawa/Lua) 21. Lao Wiang/Lao Klang 21. Wa 22. Lao Lom 22. Vietnamese 23. Lao lsan 24. Saek Source : Data compiled from Ethnolinguistic Maps of Thailand, 2005 0B U 1B U (Sino-Tibetan) 11 Groups 1. Guong (Ugong) 2. Karen 2.1 Sgaw 2.2 Pwo 2.3 Kaya 2.4 Bwe 2.5 Pa-O 2.6 Padaung 2.7 Kayo 3. Jingpaw/Kachin 4. Chinese 5. Yunnannese Chinese 6. Bisu 7. Burmese 8. Lahu (Muzur) 9. Lisu 10. Akha 11. Mpi (Austronesian) 3 Groups 1. Malay (Malayu/Nayu/Yawi) 2. Moken/Moklen 3. Urak Lawoi (Hmong-Mien) 2 Groups 1. Hmong (Meo) 2. Mien (Yao) 96 ตารางที่ 1 แสดงการจําแนกกลุมชาติพันธุตามตระกูลภาษา (5 ตระกูลภาษา 62 กลุมชาติพันธุ) ไท 2B (Tai) 3B 24 กลุม 4B 1. กะเลิง Kaleung 2. คําเมือง/ยวน Kammuang/Yuan (Northern Thai) 3. โซง (ไทดํา) Tai Dam 4. ญอ Nyaw 5. ไทขึน (ไทเขิน) Tai Khun 6. ไทยกลาง Central Thai 7. ไทยโคราช Thai Korat 8. ไทยตากใบ Thai Takbai 9. ไทยเลย Thai Loei 10. ไทลื้อ Tai Lu 11. ไทหยา Tai Ya 12. ไทใหญ Tai Yai, Shan 13. ปกษใต (ไทยใต) Southern Thai 14. ผูไท Phu Thai 15. พวน Phuan 16. ยอง Yong 17. โยย Yoy 18. ลาวครั่ง Lao Khrang 19. ลาวแงว Lao Ngaew 20. ลาวตี้ Lao Ti 21. ลาวเวียง/ลาวกลาง Lao Wiang/Lao Klang 22. ลาวหลม Lao Lom 23. ลาวอีสาน Lao lsan 24. แสก Saek ออสโตรเอเซียติก (Austroasiatic) 22 กลุม 1. กะซอง Kasong 2. กูย-กวย (สวย) Kuy/Kuay 3. ขมุ Khmu 4. เขมรถิน่ ไทย Thailand Khmer/ Northern Khmer 5. ชอง Chong 6. ซะโอจ (อูด) Sa-oc 7.ซาไก (เกนซิว, มานิก) Sakai (Kensiw/Manique) 8. ซําเร Samre 9. โซ (ทะวืง) So (Thavuang) 10. โซ So 11. ญัฮกุร (ชาวบน, คนดง) Nyah Kur (Chaobon) 12. เญอ Nyeu 13. บรู (ขา) Bru (Kha) 14. ปลัง (สามเตา, ลัวะ) Plang (Samtao, Lua) 15. ปะหลอง (ดาอัง, ดาละอั๊ง) Palaung (Dala-ang) 16. มอญ Mon 17. มัล-ปรัย (ลัวะ/ถิ่น) Mal-Pray (Lua/Tin) 18. มลาบรี (ตองเหลือง) Mlrabri (Tongluang) 19. ละเม็ด (ลัวะ) Lamet (Lua) 20. ละเวือะ (ละวา/ลัวะ) Lavua (Lawa/Lua) 21. วา (ลัวะ) Wa 22. เวียดนาม (ญวน/แกว) Vietnamese 5 ตระกูลภาษา จีน-ทิเบต (Sino-Tibetan) 11 กลุม 1. กวอง (อุกอง) Guong (Ugong) 2. กะเหรี่ยง Karen 2.1 กะเหรี่ยงสะกอ Sgaw 2.2 กะเหรี่ยงโปว Pwo 2.3 กะยา Kaya 2.4 บเว Bwe 2.5 ปะโอ Pa-O 2.6 ปะดอง Padaung 2.7 กะยอ Kayo 3. จิงพอ/คะฉิ่น Jingpaw/Kachin ออสโตรเนเชียน (Austronesian) 3 กลุม 1. มาเลย (มาลายู, นายู, ยาวี) Malay (Malayu/Nayu/Yawi) 2. มอเก็น (มอเกล็น) Moken/Moklen 3. อุรักละโวย Urak Lawoi มง-เมี่ยน (Hmong-Mien) 2 กลุม 1. มง (มงดํา, มงขาว) Hmong (Meo) 2. เมี่ยน Mien (Yao) 4. จีน (กลุมตาง ๆ ในเขตเมือง) Chinese 5. จีนฮอ Yunnannese Chinese 6. บิซู Bisu 7. พมา Burmese 8. ละหู (มูเซอ) Lahu (Muzur) 9. ลีซู (ลีซอ) Lisu 10. อะขา (อีกอ) Akha 11. อึมป (กอ) Mpi แตละกลุมยังอาจแบงเปน กลุมยอย ๆ อีกดวย ที่มา ข้ อมูลประมวลจาก แผนที่ภาษาของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ตา่ ง ๆ ในประเทศไทย (Ethrolinguistic Maps of Thailand) 97 Table 2 : Statistics of Communities on the Highlands in 20 Provinces of Thailand Classified by Ethnic Groups (Hill Tribes, Minority Groups) and Thais on the Lowland, 2002 Ethnic Group No. of House Clusters No. of Household No. of Population Families Male Female Boy Girl Total 1. Karen 1,912 87,628 95,088 151,186 147,168 70,193 69,584 438,131 2. Hmong 253 19,287 24,551 45,382 45,703 31,578 31,292 153,955 3. Mien (Yao) 178 6,758 8,022 15,260 15,442 7,609 7,260 45,571 4. Akha (Egor) 271 11,178 12,909 20,948 21,876 12,756 13,073 68,653 5. Lahu (Musur) 385 18,057 20,347 32,059 32,094 19,430 19,293 102,876 6. Lisu (Lisor) 155 6,553 7,338 12,345 12,505 6,737 6,712 38,299 7. Lua (Lawa) 69 4,361 5,098 7,454 7,553 3,536 3,717 22,260 8. Tin 159 8,496 10,474 15,512 14,941 6,084 6,120 42,657 9. Kamu 38 2,256 2,523 3,991 3,873 1,366 1,343 10,573 10. Mlabree 2 63 63 76 68 71 67 282 3,429 164,637 186,413 304,213 301,223 159,360 158,461 923,257 11. Palaung 7 459 500 663 769 472 420 2,324 12. Tongsu 4 42 43 99 79 24 24 226 13. Tai Lu 16 857 998 1,521 1,599 328 332 3,780 14. Yunnanese 55 3,773 4,109 9,028 8,556 4,153 4,588 26,325 15. Tai Yai 71 4,059 4,658 8,057 8,500 2,402 2,452 21,411 16. Khmer 1 1 1 - 1 - - 1 17. Chinese 8 599 700 14,199 1,489 666 802 4,376 18. Burmese 12 285 287 349 374 274 240 1,237 19. Mon 31 1,616 1,815 2,242 2,193 1,107 1,283 6,825 20. Lao 2 18 23 27 37 26 14 104 21. Others 3 93 96 211 177 78 97 563 Total Minority - 11,802 13,221 23,616 23,774 9,530 10,252 67,172 847 50,257 52,945 80,405 78,815 26,923 26,577 212,720 3,881 226,696 252,579 408,234 403,812 195,813 195,290 1,203,149 (Meo) (Tongluang) Total Hill Tribes Chinese Groups 22. Lowland Thais Source: Ministry of Social Development and Human Security, Department of Social Development and Welfare, Office of Social Development 98 ตารางที่ 2 แสดงขอมูลชุมชนบนพื้นที่สูง 20 จังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2545 จําแนกรายการตามกลุมชาติพันธุ (ชาวเขา,ชนกลุมนอย) และคนไทยพืน้ ราบ กลุม จํานวน จํานวน ชาติพันธุ กลุมบาน หลังคาเรือน จํานวนครอบครัว ประชากร ชาย หญิง เด็กชาย เด็กหญิง รวม 1. กะเหรี่ยง 1,912 87,628 95,088 151,186 147,168 70,193 69,584 438,131 2. มง (แมว) 253 19,287 24,551 45,382 45,703 31,578 31,292 153,955 3. เมี่ยน (เยา) 178 6,758 8,022 15,260 15,442 7,609 7,260 45,571 4. อาขา (อีกอ) 271 11,178 12,909 20,948 21,876 12,756 13,073 68,653 5. ลาหู (มูเซอ) 385 18,057 20,347 32,059 32,094 19,430 19,293 102,876 6. ลีซู (ลีซอ) 155 6,553 7,338 12,345 12,505 6,737 6,712 38,299 7. ลัวะ 69 4,361 5,098 7,454 7,553 3,536 3,717 22,260 8. ถิ่น 159 8,496 10,474 15,512 14,941 6,084 6,120 42,657 9. ขมุ 38 2,256 2,523 3,991 3,873 1,366 1,343 10,573 2 63 63 76 68 71 67 282 รวมชาวเขา 3,429 164,637 186,413 304,213 301,223 159,360 158,461 923,257 11. ปะหลอง 7 459 500 663 769 472 420 2,324 12. ตองสู 4 42 43 99 79 24 24 226 13. ไทยลื้อ 16 857 998 1,521 1,599 328 332 3,780 14. จีนฮอ 55 3,773 4,109 9,028 8,556 4,153 4,588 26,325 15. ไทใหญ 71 4,059 4,658 8,057 8,500 2,402 2,452 21,411 16. เขมร 1 1 1 - 1 - - 1 17. จีน 8 599 700 14,199 1,489 666 802 4,376 18. พมา 12 285 287 349 374 274 240 1,237 19. มอญ 31 1,616 1,815 2,242 2,193 1,107 1,283 6,825 20. ลาว 2 18 23 27 37 26 14 104 21. อื่น ๆ 3 93 96 211 177 78 97 563 รวมชนกลุม นอย - 11,802 13,221 23,616 23,774 9,530 10,252 67,172 22. ไทยพืน้ ราบ 847 50,257 52,945 80,405 78,815 26,923 26,577 212,720 3,881 226,696 252,579 408,234 403,812 195,813 195,290 1,203,149 10. มลาบรี (ตองเหลือง) ทีม่ า กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สํานักพัฒนาสังคม 99 Table 3 : No. of Ethnic Group Population in the Northeast (Esan) by Language Family Group Tai Language Family 1. Lao Esan/ Thai Lao Persons 13,000,000 Austroasiatic Language Family Persons 1. Thailand Khmer/ 1,400,000 Northern Khmer 2. Central Thai 800,000 2. Kuy/Kuay (Suay) 400,000 3. Thai Korat/Tai Beung/ 600,000 3. So 70,000 4. Thai-Loei 500,000 4. Bru 5. Phu Thai 500,000 5. Vietnamese 20,000 6. Ngaw 500,000 6. Ngeu 10,000 7. Ngah Kur/Chao Bon/ 7,000 Tai Deung 7. Kaleung Khon Dong 8. Yoy 200,000 9. Phuan 11. Tai-dam (Song) (not specified) Total 16,103,000 8. So(Thavuang) 1,500 9. Mon 1,000 Total 1,909,000 Cannot identify ethnicity and amount 3,288,000 21,300,000 Source: Data compiled from Ethnolinguistic Maps of Thailand, 2005 100 ตารางที่ 3 แสดงจํานวนของประชากรกลุมชาติพันธุตามตระกูลภาษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ภาษาตระกูลไท 1. ลาวอีสาน/ไทยลาว 2. ไทยกลาง 3. ไทยโคราช/ไทยเบิ้ง/ไทยเดิ้ง 4. ไทยเลย 5. ผูไทย 6. ญอ 7. กะเลิง 8. โยย 9. พวน 11. ไทดํา (โซง) ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก 13,000,000 1. เขมรถิ่นไทย 1,400,000 คน คน 800,000 คน 2. กูย/กวย (สวย) 400,000 คน 600,000 คน 3. โซ 70,000 คน 500,000 คน 4. บรู 500,000 คน 5. เวียดนาม 20,000 คน 500,000 คน 6. เญอ 10,000 คน 7. ญัฮกุร/ชาวบน/คนดง 7,000 คน 200,000 คน 8. โซ (ทะวืง) 1,500 คน 9. มอญ 1,000 คน ไมระบุ รวม 16,103,000 ไมสามารถระบุชาติพันธุและจํานวน ทีม่ า ประมวลจากแผนที่ภาษาของชาติพันธุตางๆ ในประเทศไทย พ.ศ. 2548 รวม 1,909,000 3,288,000 21,300,000 101 Table 4 : Statistics on Legal Counseling Requests and Provision and Complaints – Nationwide concerning 5 Southern Border Provinces (Songkhla, Satun, Narathiwat, Pattani, Yala), Classified by Types of Issues, Fiscal Year 2006 No. Type of Issue 1 Nationwide 5 Border Provinces Counseling Complaint Counseling Complaint Debt 1,074 39 21 0 2 Individual Contract 2,555 63 39 8 3 Property 378 4 2 0 4 Family 1,700 1 25 0 5 Inheritance 2,058 8 24 0 6 Security Offences 57 4 1 0 7 Administrative Offences 18 45 0 3 8 Justice Offences 51 172 1 9 9 Law and Order Offences 3 2 0 0 10 Fraud 41 2 1 0 11 Commercial Offences 16 3 0 0 12 Sexual Offences 285 17 5 0 13 Offences to Life and Physical Bodies 658 57 10 1 14 Violations of Liberties and Defamation 114 6 0 0 15 Offences on Assets/Property 2,013 30 39 7 16 Other law-related offences, e.g. drugs 809 39 30 0 War Weapons, Influential Persons 17 Land 788 74 14 1 18 Labour 109 14 0 1 19 Environment 36 6 0 0 20 Social Welfare, Public Health, Utilities 523 63 79 8 21 Economy, Industry and Services 25 4 0 0 22 Judicial Process/ Trials 8,137 109 221 0 23 Laws under the Department of Rights & 15,241 67 1,187 2 Liberties Protection, e.g. Witness Protection Act, Request for Financial Assistance Act, etc. 24 Offences on Inflicting Harm to the Public 7 3 6 1 25 Corruption by State officials 65 19 5 0 26 Natural Disasters (case of Tsunami) 4 1 0 0 Total 36,765 863 1,710 41 Total of Counseling and Complaints 37,628 (100) 1,751 (47) Source : Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, Annual Report 2006 102 ตารางที่ 4 สถิติเรื่องที่ขอรับและใหคําปรึกษาทางกฎหมายและเรื่องราวรองทุกขทั่วประเทศสําหรับ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต 2549 ปงบประมาณ (สงขลา สตูล นราธิวาส ปตตานี ยะลา) จําแนกตามประเภทเรือ่ ง ที่ ประเภทเรื่อง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 หนี้สิน เอกเทศสัญญา ทรัพยสิน ครอบครัว มรดก ความผิดเกีย่ วกับความมัน่ คง ความผิดเกีย่ วกับการปกครอง ความผิดเกีย่ วกับการยุตธิ รรม ความผิดเกีย่ วกับความสงบสุขของประชาชน ความผิดเกีย่ วกับการปลอมแปลง ความผิดเกีย่ วกับการคา ความผิดเกีย่ วกับเพศ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและรางกาย ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง ความผิดเกีย่ วกับทรัพย อื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับกฎหมาย ไดแก ยาเสพติด อาวุธสงคราม ผูมีอิทธิพล ที่ดิน แรงงาน สิ่งแวดลอม สวัสดิการสงเคราะห สาธารณสุข สาธารณูปโภค เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการบริการ กระบวนการยุตธิ รรม การพิจารณาคดี กฎหมายที่กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพรับผิดชอบ เชน พรบ ขอรับความชวยเหลือทางการเงินฯ.คุมครองพยาน พรบ. ความผิดเกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน ทุจริตประพฤติมิชอบของเจาหนาที่ของรัฐ กรณีภัยพิบัติจากธรรมชาติ (กรณีสนึ ามิ) รวม รวมขอคําปรึกษาและรองทุกข 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 ที่มา กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ รายงานประจําป 2549 ทัว่ ประเทศ ปรึกษา รองทุกข 1,074 39 2,555 63 378 4 1,700 1 2,058 8 57 4 18 45 51 172 3 2 41 2 16 3 285 17 658 57 114 6 2,013 30 809 39 5 จังหวัดภาคใต ปรึกษา รองทุกข 21 0 39 8 2 0 25 0 24 0 1 0 0 3 1 9 0 0 1 0 0 0 5 0 10 1 0 0 39 7 30 0 788 109 36 523 25 8,137 15,241 14 0 0 79 0 221 1,187 74 14 6 63 4 109 67 7 3 65 19 4 1 36,765 863 37,628 (100) 1 1 0 8 0 0 2 6 1 5 0 0 0 1,710 41 1,751 (47) 103 Table 5 : Summary of Travel In-Out of Thailand during 2006-2007 Month Year 2006 Year 2007 In Out In Out January 1,639,334 1,583,723 1,721,779 1,779,308 February 1,504,986 1,358,288 1,623,131 1,659,897 March 1,570,253 1,658,472 1,706,715 1,815,272 April 1,586,752 1,596,499 1,657,468 1,691,596 May 1,405,680 1,460,174 1,463,187 1,508,898 June 1,415,851 1,375,136 1,462,637 1,404,277 July 1,552,079 1,508,515 1,611,728 1,570,897 August 1,571,118 1,643,865 1,639,759 1,695,555 September 1,355,857 1,342,720 1,477,142 1,486,369 October 1,511,118 1,462,982 1,695,978 1,673,29 November 1,634,727 1,559,175 1,810,667 1,722,701 December 1,878,755 1,746,118 2,044,003 1,947,168 Total 18,626,510 18,295,667 19,914,194 19,955,367 Remark Source: Immigration Office, National Police Office Remark: Regarding entry into the Thai Kingdom to live in each year, in 2006 alone, there were 359 alien persons who submitted requests to enter and live in the Kingdom. 104 ตารางที่ 5 สรุปการเดินทางเขา-ออกประเทศไทยป 2549 และป 2550 เดือน มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม รวม ป 2549 เขา 1,639,334 1,504,986 1,570,253 1,586,752 1,405,680 1,415,851 1,552,079 1,571,118 1,355,857 1,511,118 1,634,727 1,878,755 18,626,510 ออก 1,583,723 1,358,288 1,658,472 1,596,499 1,460,174 1,375,136 1,508,515 1,643,865 1,342,720 1,462,982 1,559,175 1,746,118 18,295,667 ป 2550 เขา 1,721,779 1,623,131 1,706,715 1,657,468 1,463,187 1,462,637 1,611,728 1,639,759 1,477,142 1,695,978 1,810,667 2,044,003 19,914,194 ออก 1,779,308 1,659,897 1,815,272 1,691,596 1,508,898 1,404,277 1,570,897 1,695,555 1,486,369 1,673,29 1,722,701 1,947,168 19,955,367 หมายเหตุ ทีม่ า สํานักงานตรวจคนเขาเมือง สํานักงานตํารวจแหงชาติ หมายเหตุ การเขามามีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรในแตละป มีคนตางดาวมายื่นคําขอเขามามีถิ่นที่อยูใน ราชอาณาจักร ป 2549 จํานวน 359 คน 105 Table 6: Summary of Complaints Received by National Human Rights Commission, Classified by Types of Rights or Liberties Petitioned, 2002-2003, National Human Rights Commission Types of Rights/Liberties Year 2002 Year 2003 Total Percent 1. Judicial Process 117 460 577 69.7 2. Local Administration 41 59 100 12.1 3. Right to Housing 18 51 69 8.3 4. Health and Environment 27 40 67 8.1 5. Ethnicity and Migrant Workers 29 26 55 6.6 6. Labour Rights 17 35 52 6.3 7. Participation and Resource Base 28 19 47 5.7 8. Youth 11 8 19 2.3 9. Disadvantaged Groups/Persons with 8 7 15 1.8 10. Family 4 6 10 1.2 11. Political Rights 4 4 8 0.9 12. Freedom of the Media 4 4 8 0.9 13. Others 32 109 141 17.0 Total 340 828 1,168 100 Disabilities Source: National Human Rights Commisssion, Centre for Complaints Admission Assessment Report on Human Rights Situation in Thailand, 2001-2003 106 ตารางที่ 6 : สรุปผลการรับเรื่องรองเรียน ป พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2546 (ของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน แหงชาติ) จําแนกตามประเภทของสิทธิเสรีภาพที่มีการรองเรียน ประเภทสิทธิเสรีภาพ ป 2545 ป 2546 รวม รอยละ 1. กระบวนการยุติธรรม 117 460 577 69.7 2. การบริหารสวนทองถิ่น 41 59 100 12.1 3. สิทธิในที่อยูอาศัย 18 51 69 8.3 4. สุขภาพและสิ่งแวดลอม 27 40 67 8.1 5. ชาติพันธุและแรงงานตางดาว 29 26 55 6.6 6. สิทธิแรงงาน 17 35 52 6.3 7. การมีสวนรวมและฐานทรัพยากร 28 19 47 5.7 8. เยาวชน 11 8 19 2.3 9. กลุมดอยโอกาสผูพิการ/ 8 7 15 1.8 10. ครอบครัว 4 6 10 1.2 11. สิทธิทางการเมือง 4 4 8 0.9 12. เสรีภาพสื่อ 4 4 8 0.9 13. อื่นๆ 32 109 141 17.0 รวม 340 828 1,168 100 ทีม่ า คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ศูนยรับเรื่องรองเรียน รายงานประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนใน ประเทศไทย ป 2544-2546 107 Table 7 : Summary of Complaints Received by National Human Rights Commission, classified by types of Violators, Data during 1 January – 31 December 2006, National Human Rights Commission Persons Complaint/ Petitioned 1. State Projects/ Policies/Laws 2. Police 3. Admin. Division/Local Agencies 4. General persons 5. Companies or Juristic Person 6. Civil Servants in other agencies 7. Employers 8. Teachers 9. Doctors 10. Military personnel 11. Others Total Jan. 06 10 12 12 3 8 5 1 1 1 1 3 57 Feb. 06 104 7 4 0 3 4 2 2 3 1 3 133 Mar. 06 82 13 7 7 2 1 1 1 1 2 2 119 Apr. 06 45 7 5 1 1 1 1 4 1 0 5 71 May 06 22 12 5 6 4 2 0 1 0 0 3 55 Jun. 06 20 11 5 7 5 2 7 3 0 1 2 63 Jul. 06 6 16 7 9 9 2 3 0 0 0 2 54 Aug. 06 11 9 13 7 6 4 3 2 1 0 3 59 Sep. 06 2 23 2 12 2 5 2 3 1 0 16 68 Oct. 06 8 8 3 7 8 6 6 0 1 1 7 55 Nov. 06 1 15 2 5 3 3 3 0 1 1 12 46 Dec. 06 7 14 2 2 8 1 5 1 1 0 7 48 Total Per cent 318 147 67 66 59 36 34 18 11 7 65 828 38.4 17.8 8.1 7.9 7.1 4.3 4.1 2.2 1.3 0.8 7.8 100 National Human Rights Commisssion, Centre for Complaints Admission Assessment Report on Human Rights Situation in Source: Thailand, 2001-2003, p.26 108 ตารางที่ 7 : สรุปผลการรับเรื่องรองเรียน จําแนกตามประเภทของผูกระทําละเมิด ขอมูลระหวาง 1 มกราคม – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ผูถูกรองเรียน 46 46 46 46 46 46 46 46 46 46 1. โครงการกฎหมายของรัฐ/นโยบาย/ 10 104 82 45 22 20 6 11 2 8 2. ตํารวจ 12 7 13 7 12 11 16 9 23 8 3. ฝายปกครองหนวยงานทองถิ่น/ 12 4 7 5 5 5 7 13 2 3 4. บุคคลทั่วไป 3 0 7 1 6 7 9 7 12 7 5. บริษัทนิติบุคคล/ 8 3 2 1 4 5 9 6 2 8 6. ขาราชการหนวยงานอื่น 5 4 1 1 2 2 2 4 5 6 7. นายจาง 1 2 1 1 0 7 3 3 2 6 8. ครู 1 2 1 4 1 3 0 2 3 0 9. แพทย 1 3 1 1 0 0 0 1 1 1 10. ทหาร 1 1 2 0 0 1 0 0 0 1 11. อื่นๆ 3 3 2 5 3 2 2 3 16 7 รวม 57 133 119 71 55 63 54 59 68 55 พ.ย. ธ.ค. 46 46 1 7 15 14 2 2 5 2 3 8 3 1 3 5 0 1 1 1 1 0 12 7 46 48 รวม รอยละ 318 147 67 66 59 36 34 18 11 7 65 828 38.4 17.8 8.1 7.9 7.1 4.3 4.1 2.2 1.3 0.8 7.8 100 ทีม่ า คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ศูนยรับเรื่องรองทุกข รายงานประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ป 2544-2546 หนา 26 109 Table 8: Statistics of Financial Assistance to the Victims and Defendants in Criminal Cases, Years 2002-2006 Petitioners Victims and Defendants Considered by Committee (cases) Financial Assistance Approved Year Budget Received 2002 - 168 - 13,279,169.00 2003 50,000,000.00 443 68 96,644,814.00 2004 50,000,000.00 1,962 702 96,644,814.00 2005 77,000,000.00 3,745 2,116 142,952,148.72 2006 154,603,000.00 5,028 3,814 249,968,671.73 Total 331,403,000 11,346 6,700 502,844,803.45 (cases) Source: Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, Annual Report 2006 (Baht) 110 ตารางที่ 8 สถิติการชวยเหลือทางการเงินแกผูเสียหายและจําเลยในคดีอาญา ป 2545-2549 ป งบประมาณ ที่ไดรับ 2545 2546 2547 2548 2549 รวม 50,000,000.00 50,000,000.00 77,000,000.00 154,603,000.00 331,403,000 ผูยื่นคําขอ ผูเสียหายและ (ราย) จําเลย 168 443 1,962 3,745 5,028 11,346 ทีม่ า กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม รายงานประจําป 2549 คณะกรรมการ (ราย) พิจารณา คําวินิจฉัยของคณะกรรมการ (บาท) ใหจาย 68 702 2,116 3,814 6,700 13,279,169.00 96,644,814.00 96,644,814.00 142,952,148.72 249,968,671.73 502,844,803.45 111 Table 9: Statistics on Categories of Criminal Offences that Witnesses have Filed Requests for Protection to the Witness Protection Office, Fiscal Year 2006 (1 October 2005 – 30September 2006) No. Categories of Criminal Offences No of Cases in Fiscal Year 2006 .1 Offences to life 91 .2 Administrative offences 3 .3 Offences to assets 16 .4 Offences to physical bodies 49 .5 Sexual offences 19 .6 Security offences 14 .7 Offences related to unrest 1 .8 Offences related to drugs 6 .9 Violations of liberties 2 .10 Offences by Labour Law - .11 Offences by Environment Law - .12 Offences related to sales of weapon 1 .13 Offences concerned on title Deeds and other 1 Documents .14 Offences by Law on the Election Commission 3 .15 Regulations 2 of the Prime Minister Office concerning Procurement Total 208 Source : Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, Annual Report 2006 112 ตารางที่ 9 สถิติกลุมความผิดอาญาที่พยานยื่นคํารองขอรับการคุมครองความปลอดภัย ณ สํานักงานคุมครอง พยาน ประจําปงบประมาณ 2549 (1 ตุลาคม 2548 – 30 กันยายน 2549) คดีประจําป ลําดับ กลุมความผิดอาญา (ราย) 2549 งบประมาณ .1 ความผิดตอชีวิต 91 .2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง 3 .3 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย 16 .4 ความผิดตอรางกาย 49 .5 ความผิดเกี่ยวกับเพศ 19 .6 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง 14 .7 คดีความผิดเกี่ยวกับความไมสงบ 1 .8 ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด 6 .9 ความผิดตอเสรีภาพ 2 .10 ความผิดตามกฎหมายแรงงาน .11 ความผิดตามกฎหมายสิ่งแวดลอม .12 ความผิดเกี่ยวกับการคาอาวุธ 1 .13 ความผิดเกี่ยวกับเอกสารสิทธิ์ 1 .14 ความผิดตามกฎหมาย กกต. 3 .15 ตามระเบียบ นร .วาดวยการฮั้วฯ 2 รวม 208 ทีม่ า กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม รายงานประจําป 2549 113 Appendix List Appendix 1 Stages in Report Preparation Appendix 2 Projects to Promote the Rights and Well-being of Ethnic Groups Implemented by the Public, Private and Civil Society Sectors Appendix 3 Sample Cases of Justice Conduct for Ethnic Groups 114 รายชื่อภาคผนวก ภาคผนวก 1 ขั้นตอนการจัดทํารายงาน ภาคผนวก 2 โครงการสงเสริมสิทธิและสวัสดิภาพความเปนอยูของกลุมชาติพันธุที่ดําเนินการ โดยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ภาคผนวก 3 ตัวอยางกรณีการอํานวยความยุติธรรมใหกับกลุมชาติพันธุ 115 Appendix 1 Stages of Report Preparation The first stage began in 2006 and involved the setting of scope and framework and the initial data study for the report preparation. A Committee for the Consideration of the Scope and Framework for the Preparation of the Country Report under the International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination (CERD) was set up, consisting of 26 representatives from government agencies, independent organizations, organizations from the private and civil society sectors, institutes and academics/experts on ethnicity. This Committee was responsible for giving direction, comments, information and recommendations on the report preparation. Then there was a Task Force to conduct a data study and collect the data according to the recommendations and guidelines of the Committee, by studying from written documents, statistical data, and by gathering information from the field operation through organized small focus groups of 15-20 people. The focus groups aimed at compiling an account of situations and problems in the local areas of every region in Thailand. Altogether six focus groups were organized in five regions of Thailand, namely the North, the Northeast (2 sites), the West, the Upper South and the Lower South. Participants in the focus groups were representatives of ethnic groups, officials, staff and representatives of government agencies and NGOs whose work related with ethnic groups in the respective regions. The results of the study and the focus groups’ outputs gave useful information, initially making the problems about racial and ethnic situations in Thailand known to a certain level. At the same time, information about the CERD, regarding its background, concept, principles and provisions were being disseminated, raising awareness about the Convention and the binding commitments, particularly in preparing this Country Report among the officials/staff, ethnic groups/tribes people, government agencies and other concerned organizations at the national and local levels. This resulted in the start of a participatory process in preparing this report, by means of giving information and other forms of cooperation, until the scope and framework for the report preparation were laid down. The second stage was implemented in 2007 and involved the compilation of the report under the responsibility of the Committee on the Promotion of the Elimination of All Forms of Racial Discrimination, appointed by the Ministry of Justice (9 March 2007). The Committee comprised 40 representatives of government agencies and non-governmental organizations, academics, experts and workers in the field of ethnicity. Its responsibility was to supervise the preparation of the report as per commitment under the Convention, coordinated by the Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, which was also in charge of securing a budget of 1.8 million baht for the twoyear period of operation. This Committee laid down the process of report compilation, by organizing a series of workshops to work together in setting a scope and framework, developing an outline, writing and revising the draft report. Altogether, seven workshops were organized both at the national and local levels. The first one was organized in Bangkok to set a scope and framework; lay down an outline; mobilize knowledge, information, experience and opinions; and to compile the content of the report, following the Guidelines of the UN Committee on the Elimination of Racial Discrimination, and based on the baseline data gathered from the initial study in the first stage, including the information provided by the participating organizations as well as from the knowledge and experiences of the persons involved, totaling around 60 persons/organizations. Additional information were sought by filing questionnaires to approximately 200 government agencies and non-governmental organizations, information gathered from complaints received and reports of organizations, institutes, academics and experts working with ethnic groups/ tribes, as well as direct information from the ethnic groups. Moreover, the Committee, through the Ministry of Foreign Affairs and the Regional Office for Southeast Asia of the UN Office of the High Commissioner on Human Rights (UNOHCHR), sought cooperation from the UN Committee on the Elimination of Racial Discrimination to come and give a lecture on Guidelines on the Preparation of Country Reports. Its request was well responded by the Secretariat of the UN Committee, and a resource person was sent to Bangkok to conduct a one-day Capacity Building Training on State Reporting to the Committee on the Elimination of Racial Discrimination, organized by the UNOHCHR Regional Office for Southeast Asia and attended by all personnel concerned. The outcome of the training was that everyone was clear about the guidelines, which were subsequently followed in producing the first draft of the report. 116 ภาคผนวก 1 ขั้นตอนการจัดทํารายงาน ขั้นตอนแรกดําเนินการในป 2549 เปนการจัดทํากรอบแนวทางและศึกษาขอมูลเบื้องตนเพื่อการจัดทํารายงาน มี “คณะกรรมการพิจารณากรอบแนวทางการจัดทํารายงานประเทศตามอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทาง เชื้อชาติในทุกรูปแบบ” ซึ่งประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรอิสระ สถาบันและนักวิชาการ ดานชาติพันธุ จํานวน 26 คน รับผิดชอบใหแนวทาง ขอคิดเห็น ขอมูล และขอเสนอแนะในการจัดทํารายงาน มี คณะทํางานดําเนินการศึกษารวบรวมขอมูล ตามขอเสนอแนะและแนวทางของคณะกรรมการ ดวยการศึกษาจาก เอกสาร ขอมูลสถิติ และเก็บขอมูลการปฏิบัติในพื้นที่จากการประชุมกลุม ( Focus Group) ขนาดเล็ก 15-20 คน เพื่อ ประมวลสภาพการณและสภาพปญหาในพื้นที่รวม 6 ครัง้ ใน 5 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2 พื้นที)่ ภาคตะวันตก ภาคใตตอนบน และภาคใตตอนลาง ซึ่งมีผูเขารวมประชุมมาจากผูแทนกลุมชาติพันธุผูทํางาน และผูแทนองคกรภาครัฐและเอกชนที่ทํางานเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุในภูมิภาคนั้นๆ ผลการศึกษาและการประชุมกลุม (focus group) ทําใหไดขอมูลและทราบปญหาเบื้องตนเกี่ยวกับสถานการณดานเชื้อชาติ/ชาติพันธุในประเทศไทย ระดับหนึ่ง พรอมกับไดเผยแพรอนุสัญญาในเรื่องแนวคิด หลักการ ความเปนมา และขอบัญญัติตางๆ ซึ่งทําใหเกิดการ รับรูรับทราบเกี่ยวกับอนุสัญญาและพันธกรณีการจัดทํารายงานตามอนุสัญญาฉบับนี้ในกลุมผูทํางานกลุมชาติพันธุ/ ชน เผา หนวยราชการและองคกรทั้งในสวนกลางและสวนทองถิ่นระดับพื้นที่ เริ่มเกิดกระบวนการมีสวนรวมในการจัดทํา รายงานโดยการใหขอมูล และความรวมมือในรูปแบบตางๆ จนไดกรอบและแนวทางเบื้องตนในการจัดทํารายงาน ขั้นตอนที่ 2 ดําเนินการในป 2550 เปนการจัดทํารายงานโดยความรับผิดชอบของ “คณะกรรมการสงเสริมการ ขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ” ซึ่งแตงตั้งโดยกระทรวงยุติธรรม (9 มีนาคม 2550) ประกอบดวย ผูแทนจากหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญและผูทํางานดานชาติพันธุ/ ชนเผา จํานวน 40 คน ทําหนาที่รับผิดชอบกํากับดูแลการดําเนินการและจัดทํารายงานตามพันธกรณีของอนุสัญญา โดยมีกรมคุมครองสิทธิ และเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรมเปนหนวยประสานงานและรับผิดชอบจัดหางบประมาณดวยวงเงิน 1.8 ลานบาท สําหรับระยะเวลา 2 ป ในการดําเนินการ คณะกรรมการกําหนดกระบวนการจัดทํารายงานโดยการจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ (workshop) เพื่อรวมกันกําหนดกรอบแนวทางเคาโครง รวมกันเขียนและพิจารณารายงานรวม 7 ครั้ง ทั้ง ในสวนกลางและสวนภูมิภาค การประชุมปฏิบัติการครั้งแรกดําเนินการในกรุงเทพ เปนการกําหนดกรอบแนวทาง วาง เคาโครง ระดมความรู ขอมูล ประสบการณ ความคิดเห็น และรวมกันจัดทําเนื้อหาของรายงานตามแนวทางของ คณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติของสหประชาชาติดวยขอมูลพื้นฐานที่ไดรับจากผลการศึกษาใน ขั้นตอนแรก รวมถึงขอมูลจากหนวยงานที่เขารวมประชุมและประสบการณความรูของผูรวมจัดทํารายงานจํานวน ประมาณ 60 คน/หนวยงาน เพิ่มเติมดวยการระดมขอมูลจากหนวยงานตางๆ ดวยแบบสอบถามที่สงไปยังหนวยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน จํานวนประมาณ 200 หนวย ผนวกกับขอมูลจากเรื่องรองเรียนและรายงานของหนวยงาน นักวิชาการ และผูเชี่ยวชาญ ที่ทํางานกับกลุมชาติพันธุ/ ชนเผา รวมถึงขอมูลโดยตรงจากกลุมชาติพันธุ นอกจากนี้ คณะกรรมการไดประสานงานผานกระทรวงการตางประเทศและสํานักงานขาหลวงใหญสิทธิมนุษยชนภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ขอความรวมมือคณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติของสหประชาชาติใหมาบรรยายให ความรูเกี่ยวกับแนวทางการจัดทํารายงาน ซึ่งก็ไดรับความรวมมือจากสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการจัดสงวิทยากรมา บรรยายใน การประชุมฝกอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดทํารายงานเสนอตอคณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ของสหประชาชาติ C( apacity Building Training Day on State Reporting to the Committee on The Elimination of Racial Discrimination) ซึ่งจัดโดยสํานักงานขาหลวงใหญสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต (OHCHR Regional office for South – East Asia) ทําใหไดแนวทางที่ชัดเจนนํามาจัดทําเปนรางรายงานฉบับแรก 117 The first draft of the report was presented on the website, http://www.geocities.com/moj.cerd/Reportdraft.zip , which opened for opinions, comments and suggestions, to be sent to P.O Box 100 Pakkred Nontaburi. The draft report went through revisions and improvements by the personnel from all parties concerned during the seven workshops, organized in Bangkok and in other six regions, namely the Central, the West, the North, the Northeast, the South and the East. Several additional comments and suggestions were received as a result, and the Report Compilation Team undertook to revise the draft report to be as complete and updated as possible for submission to the Committee on the Promotion of the Elimination of All Forms of Racial Discrimination for consideration and approval. The third stage was implemented in 2008, involving the draft report being presented to the general public at the National Conference during 19-20 June 2008 to sound out comments and suggestions as an overview from the general public and all groups concerned. At the National Conference, there were representatives of ethnic groups from various regions who gave their opinions, expressing appreciation for the CERD in providing them with opportunities to voice their concerns and frustrations, to take part in making decisions in solving the problems, and in setting a scope and framework for the enhancement of understanding among ethnic people who belong to diverse ethnic groups. They said that although at this present time, not all provisions of the Convention could be implemented to the full, it was believed that things would be improved eventually. This Convention, they said, is the hope of all Thai ethnic groups, which will help reduce the problems of racial discrimination and non-nationality status and eliminate them in the future. From the National Conference, final revisions on the draft report were made, and the latest draft report was presented to the Committee on the Promotion of the Elimination of All Forms of Racial Discrimination, with a view to submit to the Cabinet for approval. The Cabinet passed its approval of the report on February, 1 st, 2011. Then the Ministry of Foreign Affairs followed through with its procedures to submit Thailand’s report to the Committee on the Elimination of Racial Discrimination of the United Nations. 118 รางรายงานฉบับแรกไดนําเสนอทางเว็บไซต http://www.geocities.com/moj.cerd/Reportdraft.zipและ เปดรับขอคิดเห็น/เสนอแนะที่ ตู ปณ. 100 ปากเกร็ด นนทบุรี รางรายงานไดผานการพิจารณาแกไขปรับปรุงจาก ผูเกี่ยวของทุกฝายในการประชุมปฏิบัติการรวม 7 ครั้ง คือในสวนกลาง ณ กรุงเทพ และ 6 ภูมิภาค ไดแก ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต และภาคตะวันออก ซึ่งไดรับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ เพิ่มเติมจํานวนมาก คณะผูจัดทํารายงานไดดําเนินการแกไขปรับปรุงรายงานใหสมบูรณเปนปจจุบันที่สุด และนําเสนอ เพื่อรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสงเสริมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ขั้นตอนที่ 3 ดําเนินการในป 2551 เปนการนําเสนอรางรายงานตอสาธารณชน ในการประชุมระดับชาติ เมื่อ 19-20 มิถุนายน 2551 เพื่อรับฟงความเห็นและขอเสนอแนะในภาพรวมโดยกวางจากประชาชนและผูเกี่ยวของทุก กลุม ในการประชุมระดับชาติไดมีการแสดงทัศนะของผูแทนกลุมชาติพันธุจากภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศซึ่งไดแสดง ความชื่นชมตออนุสัญญาฉบับนี้ ที่ชวยใหไดมีโอกาสนําเสนอปญหาความคับของใจ รวมตัดสินใจแกไขปญหาและ รวมกันวางกรอบแนวทางสรางความเขาใจระหวางกันในหมูชาติพันธุที่หลากหลาย ซึ่งแมปจจุบันจะยังไมสามารถ ดําเนินการไดครบถวนสมบูรณ แตก็เชื่อวาจะพัฒนาดีขึ้นไดในอนาคต และอนุสัญญานี้เปนความหวังของคนไทยทุก ชาติพันธุที่จะชวยขจัดปญหาการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติและการไรสัญชาติใหลดนอยลงและหมดไปในที่สุด การ ประชุมระดับชาติไดมีการปรับแกไขรายงานเปนฉบับลาสุด นําเสนอคณะกรรมการสงเสริมการจัดการเลือกปฏิบัติทาง เชื้อชาติในทุกรูปแบบ และผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อ 1 กุมภาพันธ 2554 แลวดําเนินการตามขั้นตอน ของกระทรวงการตางประเทศเพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติของสหประชาชาติ 119 Appendix 2 Projects Implemented by the Government Sector - Project for the enhancement of efficiency in screening the recording of Thai nationality in the Household Registration Books for “Mountain Thais”, or Thais who live on the mountains (1992) - Project to grant alien status to hill tribesmen who migrated to Thailand (1995) - Project to survey, register personal history record and identification documents for persons not listed in the Civil Registration, according to the Strategy to Address the Problems of Persons’ Status and Rights 2005 - Project to intensify the granting of legal status to the persons who migrated to and have lived in Thailand for a long consecutive period, according to the Strategy (Cabinet Resolution 10 January 2006) - Guidelines on Implementation to Solve the Nationality Problem in Tsunami-Affected Areas (The Mogens and the Thai-descended displaced Burmese) - The Ministry of Social Development and Human Security, in joint collaboration with related agencies, implemented a project to assist and care for the affected women’s group, who had to take the burden of being heads of families alone by themselves due to deaths or detentions of their husbands from the unrest incidents. Most of them had to look after orphaned children and dependents. The project assisted them in terms of basic necessities, occupational development, education scholarships for their children, physical and mental health care, and in establishing a network among themselves so that they can assist and support one another. - Office of the Courts of Justice and the Ministry of Justice jointly organised a seminar on Protection of Rights and Liberties of the Children and Youth in the South, to be a forum for the personnel working for and with children and youth in the southern border provinces of Thailand to exchange their experiences, ideas and opinions. The identified problem issues which came out from the seminar were gathered and used as guidelines in developing and revising laws and operational directives on juvenile judicial process, and in building cooperation among agencies/organizations concerned in the southern border provinces in providing protection and assistance to the children and youth affected by the violent unrest incidents. Some of them directly encountered the violent incidents, some were orphaned by the loss of fathers or mothers or both, and some were neglected when their fathers and mothers were arrested. Others had to be involved as witnesses in the violent incidents. As for the children and youth in conflict with the law, they were mainly violators who inflicted the violence, or had drug-related problems. These young people were faced with constraints from ineffective exercise of the child protection law due to lack of capacity and preparedness of the government officials and/or staff of the organizations concerned in providing proper protection to the children and youth. These constraints have led to subsequent difficulties in many aspects. - The Ministry of Justice by the Department of Rights and Liberties Protection established the Welcome Centre for Co-Builders of Peace in the Southern Border Provinces Project, with an aim to develop the young people there by conducting the training course on Religious Teachings Toward Peace and Happiness. Each batch of training trained 120 youth trainees. Eight batches were conducted, hence a total of 1,250 youth were trained. - The Community-Based Organization Development Institute (a public listed organization), under the supervision of the Ministry of Social Development and Human Security, implemented a project to alleviate the difficulties of the traditional fishing group caused by the resource exploitative commercial fishing which uses large and well-equipped fishing boats and certain fishing tools, e.g. purse seine, trawl and push nest which are destructive. All these affected the ecological system, thus causing the amount of coastal fishes to drop, affecting the local people severely. The local fishermen had to take their small boats out farther in the sea, which consumed more time and expenses and incurred more risks. The project gave support to these affected local fishermen to form a network of traditional fishing group, to build capacity of the group’s members in producing and repairing fishing tools and equipment, ship building and running ship building docks. The communities were also encouraged and supported to rescue and revive coastal resources, set up a revolving fund for their traditional fishing and loans for housing development and community utilities infrastructure improvement. The project also supported the process to devise a master community development plan by gathering data about the community needs initially in 25 sub-districts of two provinces, grouping of local fishing, compiling and analyzing the situation and problems, and proposing these plans: plan on conservation and revival of coastal resources, plan on fishing community organization development, plan on occupational development and setting up of funds. Seminars were organized to share and conclude lessons learnt and suggest ways to move forward according to the plans set by the communities themselves. 120 ภาคผนวก 2 โครงการที่ดําเนินการโดยภาครัฐ โครงการเสริมประสิทธิภาพการพิจารณาลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบานใหแกชาวไทยภูเขา (พ.ศ. 2535) โครงการใหสถานะคนตางดาวแกชาวเขาที่อพยพเขามาในประเทศไทย(พ.ศ. 2538) โครงการสํารวจจัดทําทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตน สําหรับบุคคลที่ไมมีชื่ออยูในทะเบียนราษฎรตาม ยุทธศาสตรการจัดการปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลพ.ศ. 2548 โครงการเรงรัดการใหสถานะตามกฎหมายแกบุคคลที่อพยพเขามาอาศัยอยูในประเทศไทยติดตอกันเปนเวลานาน ตามยุทธศาสตร (มติคณะรัฐมนตรี 10 มกราคม 2549) แนวทางการดําเนินการแกไขปญหาสัญชาติ ในพื้นที่ประสบภัย ธรณีพิบัติ (กลุมชาวมอรแกนและกลุมผูพลัดถิ่น สัญชาติพมาเชื้อสายไทย) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของจัดทําโครงการดูแลชวยเหลือ กลุมสตรี ที่ตองรับภาระเปนหัวหนาครอบครัวโดยลําพังเนื่องจากสามีเสียชีวิตหรือถูกจับกุมดวยเหตุความไมสงบ ตอง เลี้ยงดูบุตรกําพราและบุคคลที่อยูในการพึ่งพา ทั้งในดานปจจัยยังชีพ การพัฒนาอาชีพ ทุนการศึกษาของบุตร การดูแล สุขภาพกายและสุขภาพจิตและการรวมตัวจัดตั้งเครือขายเพื่อดูแลชวยเหลือระหวางผูประสบปญหาดวยกันเอง สํานักงานศาลยุติธรรมรวมกับกระทรวงยุติธรรมจัดสัมมนาการคุมครองสิทธิและเสรีภาพเด็กและเยาวชนใน ภาคใต แลกเปลี่ยนประสบการณและความคิดเห็นของผูปฏิบัติงานดานเด็กและเยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อ รวบรวมประเด็นปญหานํามาจัดทําแนวทางพัฒนาแกไขปรับปรุงกฎหมายและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการ ยุติธรรมดานเด็กและเยาวชน และสรางความรวมมือระหวางหนวยงาน/องคกรที่เกี่ยวของในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อชวยเหลือดูแลเด็กและเยาวชนในพื้นที่ที่ตองรับผลจากเหตุการณรุนแรง เชน เผชิญปญหาเหตุการณความรุนแรง โดยตรง เปนกําพรากรณีบิดามารดาเสียชีวิต หรือถูกทอดทิ้งกรณีพอแมถูกจับ ตองเกี่ยวของในฐานะพยานในเหตุการณ ความรุนแรง หรือเปนผูกระทําผิดหรือกอเหตุความรุนแรง หรือมีปญหาเกี่ยวกับยาเสพติด ตองเผชิญปญหาประสิทธิภาพ ของการใชกฎหมายคุมครองเด็กเนื่องจากความไมพรอมของเจาหนาที่รัฐและองคกรที่เกี่ยวของในการใหความคุมครอง ดูแลเด็ก ซึ่งนําไปสูปญหาความยากลําบากอื่นๆที่ติดตามมาอีกหลายประการ กระทรวงยุติธรรมโดยกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพจัดโครงการศูนยตอนรับผูรวมสรางสันติสุขจังหวัดชายแดน ใตเพื่อพัฒนาเยาวชนดวยการจัดฝกอบรมหลักสูตรศาสนธรรมนําสันติสุขรุนละประมาณ 120 คน รวม 8 รุน จํานวน 1,250 คน สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคกรมหาชน) ในสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย จัดทํา โครงการแกปญหาความเดือดรอนของกลุมประมงพื้นบานที่ประสบปญหาการถูกแยงชิงทรัพยากรจากการประมงเชิง พาณิชย ซึ่งใชเรือประมงขนาดใหญพรอมเครื่องมือทันสมัย อวนลาก อวนรุนทําประมงแบบทําลายลางกอใหเกิด ผลกระทบตอระบบนิเวศนทําใหคนทองถิ่นตองไดรับผลกระทบรุนแรงโดยสัตวน้ําชายฝงลดนอยลงเรือเล็กตองออกทะเล ไกลไปเรือ่ ยๆ ตองเพิ่มเวลาคาใชจายและความเสี่ยงมากขึ้น โดยการสนับสนุนใหรวมกลุมจัดตั้งเครือขายประมงพื้นบาน พัฒนาศักยภาพของสมาชิกกลุมในการผลิตและซอมสรางเครื่องมือเครื่องใชและอุปกรณการประมงการตอเรือ และทําอู ตอเรือ สงเสริมใหชุมชนฟนฟูทรัพยากรชายฝง จัดตั้งกองทุนหมุนเวียนประมงพื้นบาน สนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาที่อยู อาศัยสาธารณูปโภคและสาธารณูปการชุมชนตลอดจนสงเสริมกระบวนการจัดทําแผนชุมชนเพื่อการพัฒนาโดยรวบรวม ขอมูลความตองการเบื้องตนใน25 ตําบลของ 2 จังหวัด จัดกลุมประมงพื้นที่ ประมวลสภาพปญหาและเสนอแผนงานเฝา ระวัง แผนอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรชายฝงทะเลแผนพัฒนาองคกรชุมชนประมงและ แผนงานพัฒนาอาชีพและการจัด ตั้งกองทุนจัดสัมมนาสรุปบทเรียนและเสนอแนวทางแกไขตามแผนตางๆเพื่อดําเนินการในทางปฏิบัติโดยชุมชนเอง 121 - Also organized were meetings, seminars and training for all groups of government personnel and persons involved in the judicial process to equip them with the knowledge about human rights, especially the conventions to which Thailand has acceded as a State Party. And, in another relevant development, the government authorities have made special effort to facilitate people who speak local dialects when they contact government offices, by sending civil servants who can speak local dialects to be stationed at respective localities. Or otherwise, basic language/dialect training will be given to the civil servants who will be stationed in those localities. Projects Implemented by the Private and Civil Society Sectors - Projects of the Royal Projects Foundation, which are under a set of Master Plans that have executed integrated implementation to develop the highland areas: 1. Five-Year Master Plan on the Royal Projects Development Centre (1997-2001), composing Work Plans of 14 work units for the development and promotion of occupation, quality of life, natural resource conservation and improvement of infrastructures on the highland areas. 2. Five-Year Master Plan on Research, consisting of more than 54 research projects to increase effectiveness in productivity, conserve biological diversity, forest rehabilitation and utilization, and study of the economy on the highlands. - Project contributed by Her Majesty the Queen, namely HM the Queen’s Project on Model Farms which is a project on agriculture, through demonstration of model farms that grow revolving plants for sale by a group of around 30 farmers and more per farm. Each group of farmers had to undergo a series of training courses, from the soil preparation stage to harvesting and to market survey to identify channels for selling their produce. The produce from the model farms are varied, ranging from rice farm produce, mixed farm produce, field crops, animal husbandry and fishing produce. From practice in the model farms, the farmers were then encouraged to replicate the farming methods on their own pieces of land, or to form a group to operate the farm together on a larger piece of land for safety and assurance. - The United Nations Children’s Fund hosted an Art Remedy Project, using art media, including photography, drawings/paintings and story writing as therapy tools to rehabilitate the mental conditions of the children who were affected by armed unrest in the southern border provinces, in order to bring back their self-confidence and to create friendship and understanding between children of different cultures, leading to peaceful living together. - As for the private and civil society sectors, they demonstrated their concerns towards the people in the southern border provinces through various activities, both directly and through the mass media, e.g. provision of scholarships for the children and youth, organizing of exchange excursion trips between youths in different regions, inkind donations, hosting of trade fairs to sell produce from the affected areas, as well as running of a campaign to invite the public to send short messages expressing concerns and encouragement through the television and other media, etc. 122 - นอกจากนี้ ไดมีการจัดประชุม สัมมนา ฝกอบรมเจาหนาที่รัฐและบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทุกกลุมใหมี ความรูเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอนุสัญญาที่ไทยไดเปนภาคีแลว และทางราชการก็ไดพยายามอํานวยความ สะดวกแกบุคคลผูพูดภาษาทองถิ่นในการติดตอราชการโดยจัดสงขาราชการผูสามารถพูดภาษาทองถิ่นไดไปประจํายัง ทองถิ่นนั้นๆ มิฉะนั้น ก็พยายามอบรมภาษาทองถิ่นเบื้องตนแกขาราชการที่จะตองไปประจํายังทองถิ่นนั้นๆ - โครงการพระราชทานของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ คือ โครงการฟารมตัวอยางของสมเด็จพระ นางเจาพระบรมราชินีนาถ เปนโครงการดานการเกษตรที่ปลูกพืชหมุนเวียนคาขายโดยการรวมตัวของกลุมเกษตรกร ฟารมละประมาณ 30 คนขึ้นไป ผานการอบรมตามหลักสูตรตั้งแตขั้นเตรียมดินจนถึงการเก็บเกี่ยวและการสํารวจ จัดหาตลาดผลผลิตซึ่งมีทั้งจากไรนาสวนผสม พืชไร สัตวเลี้ยงและประมง และตอมาไดขยายผลใหเกษตรกรไปทําเองที่ บานตน หรือรวมกลุมกันทําในพื้นที่ใหญขึ้นเพื่อความปลอดภัย - องคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติจัดโครงการเยียวยาดวยงานศิลปะ ใชสื่อศิลปะการถายภาพและการ เขียนเรื่องราวเพื่อฟนฟูและบําบัดสภาพจิตใจของเด็กๆ ที่ไดรับผลกระทบ เรียกความมั่นใจกลับคืน สรางมิตรภาพและ ความเขาใจระหวางเด็กตางวัฒนธรรมเพื่อนําสูการอยูรวมกันอยางสันติ ฯลฯ - สําหรับภาคเอกชนและประชาชน มีการแสดงความหวงใยตอประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตดวยกิจกรรม ตาง ๆ ทั้งโดยตรงและผานสื่อ เชน การจัดทุนการศึกษาใหกับเด็กและเยาวชน การจัดโครงการแลกเปลี่ยนเยาวชน ทัศนศึกษา การบริจาคสิ่งของ การจัดงานจําหนายผลิตผลจากพื้นที่ที่ประสบปญหา ตลอดจนการสงขอความสั้นแสดง ความหวงใยและใหกําลังใจผานทางสื่อโทรทัศน และสื่อตาง ๆ เปนตน 123 Appendix 3 Administration of Justice Administration of Justice – Case of the People in Mae Ay District ‘Unsurveyed’ for the Civil Registration There was the case concerning the problem of personal status which effected a group of persons, which has subsequently received remedy as a result of strong fighting by the affected persons themselves and which has caught public interest. This was the case of 1,243 names of residents in Mae Ay District, Chiang Mai province. They were deleted from the Household Registration Books. (from 5 sub-districts, 15 villages) on 5 February 2002. The case happened when the District Chief Officer of Mae Ay District announced the deletion of the names of these citizens from the Household Registration Books (Form TR14), out of misunderstanding between the officers and the people. Originally, there had been a large number of unsurveyed persons for the Civil Registration in this local area because of frequent migration back and forth along the border areas. Then the issuance of Identification (ID) Cards, which was carried out in two batches, in 1964 and 1970, could not cover all people in the area. At that time, there were a number of local people who did not see the importance of having ID cards and still migrated back and forth, and so missed out on the opportunity of getting their ID cards. Later, in the year B.E. 2541-2543 (1998-2000), the unsurveyed group of people in Mae Ay submitted their petition requesting their names to reappear in the Housing Registration, but instead their names were erased from the Household Registration Books, which meant loss of their civil rights. These people then moved to demand correction by the government agencies concerned to put their names back into the Household Registration Books, hence giving them back their civil rights as Thai citizens. This case caught huge interest from the media and the public. These Mae Ay people submitted their complaints appealing for assistance from various organisations both in the public and private sectors, the National Human Rights Commission, the Lawyers’ Council, to name a few. The local people in Mae Ay also formed the Mae Ay Community Rights Group to coordinate with various groups of supporters in their rigorous fight to protect their own rights. They filed a case to the Administrative Court to request that their names be re-recorded in the Household Registration Books, and also presented their case to the public through the mass media on a large scale. Their case received a lot of interest and attention from the media and the public, continuously watching out for any progress on this issue for three years. Finally, the Administrative Court and the Supreme Administrative Court gave verdicts to revoke the order of the District Chief Officer, resulting in the names of these people being re-recorded in the Civil Registration (TR14) on 8 September 2005. This case is an example that shows awareness about rights, strong protection of their rights, using the right channels of complaints according to the Constitution and the power of the civil society to yield maximum benefits. The lesson learnt from the remedy for the problem concerning persons’ status of the Mae Ay people is that having clear policies is the strategy to solve the issues concerning persons’ status and rights. Moreover, having concrete complaint, examination and protection channels and procedures (Administrative Court, National Human Rights Commission, Lawyers’ Council, non-governmental and civil society organisaitons), and more importantly, having a strong community-based organisation like the Mae Ay Community Rights Group as the group effected by the problem are essential ways and means for executing effective and satisfactory remedial measures. Realising that the problem did not end immediately and there would be subsequent difficulties as repercussions of the problem, which needed longer term direction and guidelines for prevention, solution and remedy, the Mae Ay people laid longer term preventive and self-defence measures by forming themselves to open a Legal Clinic (regarding status and rights of persons) in their locality. The clinic’s main duties are to follow up, coordinate and provide assistance to children, youth and persons without nationality in Mae Ay district regarding status and rights, and to share the knowledge and experience learnt from the work of the lawyers who are ex-Mae Ay residents without nationality to other areas, in order to gather opinions for the improvement of their work towards sustainability. This Legal Clinic has been supported by the United Nations Children’s Fund (UNICEF) and two academic institutions, namely Payap University and Thammasat University. 124 ภาคผนวก 3 การอํานวยความยุติธรรม การอํานวยความยุติธรรมกรณีชาวอําเภอแมอายที่ตกสํารวจทางทะเบียนราษฎร กรณีปญหาสถานะบุคคลที่เกิดกับกลุมบุคคลและไดรับการเยียวยาจากผลการตอสูที่เขมแข็งของกลุมผูประสบ ปญหาเอง ที่เปนความสนใจของสังคม คือ กรณีการจําหนายชื่อของชาวอําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม จํานวน 1,243 คน ออกจากทะเบียนบาน (จาก 5 ตําบล 15 หมูบาน) เมื่อ 5 กุมภาพันธ 2545 โดยนายอําเภอแมอายไดประกาศ จําหนายชื่อราษฎรเหลานี้ออกจากทะเบียนบาน (แบบ ทร.14) ดวยสาเหตุความเขาใจที่ไมตรงกันระหวางเจาหนาที่กับ ราษฎร จากการมีคนตกสํารวจและตกหลนทางทะเบียนราษฎรจํานวนมากในพื้นที่เพราะมีการอพยพโยกยายไปมา บริเวณชายแดน การจัดทําบัตรประชาชนรวม 2 ครั้ง ในป 2507 และ 2513 ไมครอบคลุมคนในพื้นที่ไดทั้งหมด เนื่องจากแตเดิมคนจํานวนหนึ่งไมรูถึงความสําคัญของการมีบัตรประชาชน ไมไปทําบัตรและการโยกยายไปมาทําให พลาดโอกาสที่จะไดรับบัตรประจําตัว ตอมาในป 2541-2543 ชาวบานแมอายที่ตกสํารวจ/ตกหลนไดยื่นคํารองขอมีชื่อ ในทะเบียนราษฎรอีกครั้ง จึงถูกทางอําเภอเพิกถอนรายชื่อออกจากทะเบียนบานดังกลาว อันเปนผลใหสูญเสียสิทธิ ของพลเมืองไปดวย ชาวบานที่ถูกเพิกถอนรายชื่อออกจากทะเบียนบาน ไดเคลื่อนไหวเรียกรองใหหนวยงานรัฐแกไข โดยนํารายชื่อเขาทะเบียนบานอีกครั้งเพื่อคืนสิทธิความเปนพลเมืองไทย กรณีนี้เปนที่สนใจของสื่อมวลชนและ สาธารณชนเปนอันมากชาวแมอายไดยื่นเรื่องรองเรียนขอความชวยเหลือจากองคกรตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน คือ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ สภาทนายความ และคนในชุมชนไดรวมมือกันจัดตั้งกลุมสิทธิชุมชนแมอาย รวมมือกับผูสนับสนุนกลุมตางๆ ตอสูปกปองคุมครองสิทธิของตนอยางเขมแข็ง โดยชาวบานไดรวมกันเปนโจทยยื่น ฟองตอศาลปกครองเพื่อพิจารณาใหไดมีรายชื่อกลับคืนในทะเบียนบานเหมือนเดิม และนําเสนอปญหาตอสังคมและ สื่ออยางกวางขวาง ซึ่งก็ไดรับความใสใจติดตามความคืบหนาอยางตอเนื่อง เปนเวลาถึง 3 ป ในที่สุดศาลปกครอง ชั้นตนและศาลปกครองสูงสุดไดพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งของนายอําเภอสงผลใหชื่อของชาวบานกลุมนี้ไดกลับคืนสู ทะเบียนราษฎร (ทร.14) เมื่อ 8 กันยายน 2548 ซึ่งกรณีนี้เปนเรื่องที่แสดงถึงการตระหนักรูในสิทธิและการรักษาสิทธิ ที่เขมแข็งการรูจักใชชองทางการรองเรียนตามรัฐธรรมนูญและพลังประชาสังคมใหเกิดประโยชนสูงสุด บทเรียนจากการแกไขเยียวยาปญหาเรื่องสถานะบุคคลของชาวแมอาย ไดพบวาการมีนโยบายที่ชัดเจน คือ ยุทธศาสตรการจัดการปญหาสถานะและสิทธิของบุคคล การมีองคกรรับเรื่องรองเรียนตรวจสอบและคุมครองสิทธิ อยางเปนรูปธรรมที่ดําเนินการอยางจริงจัง (ศาลปกครอง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ สภาทนายความ องคกรภาคเอกชน/ภาคประชาชน) ที่สําคัญการมีองคกรชุมชนเจาของปญหาที่เขมแข็ง (กลุมสิทธิชุมชนแมอาย) เปน กลไกสําคัญในการแกไขเยียวยาที่ทําใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรมที่นาพอใจ ถึงแมความยุงยากที่เกิดติดตามมากับ ปญหายังมิไดจบสิ้นลงในทันทีทันใด จําเปนตองมีการวางแนวทางปองกันแกไขและการเยียวยาในระยะยาวที่ ดําเนินการอยางตอเนื่อง ชาวแมอายตระหนักในปญหาเปนอยางดีจึงไดวางแนวทางระยะยาวในเรื่องนี้โดยรวมตัวกัน เปดคลินิกกฎหมายชาวบาน (ดานสถานะและสิทธิของบุคคล) ขึ้นในพื้นที่เพื่อทําหนาที่ติดตามประสานงานใหความ ชวยเหลือดานสถานะและสิทธิบุคคลตอเด็ก เยาวชน คนไรสัญชาติในอําเภอแมอาย และเปดเวทีถายทอดความรูและ แลกเปลี่ยนประสบการณจากการทํางานของนักกฎหมายที่เปนอดีตชาวบานไรสัญชาติของแมอายไปยังพื้นที่ตางๆ เพื่อ นําความคิดเห็นไปปรับปรุงกระบวนการทํางานใหยั่งยืนตอไป คลินิกกฎหมายนี้ไดรับการสนับสนุนขององคการยูนิเซฟ และสถาบันวิชาการ 2 หนวย คือ มหาวิทยาลัยพายัพ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 125 Administration of Justice – Case of the Malayu-descended Thais In order to address the constraints of the justice system not adequacy responding to the religion, culture and traditions of the local people in the southern border provinces of Thailand, thus making them feel that they do not receive justice, the government agencies concerned have set up an operational unit to improve the conduct of justice for the Malayu-descended Thais in the area to correspond better with their religion, culture and traditions. The Ministry of Justice, through its Department of Rights and Liberites Protection has set up the Justice Clinic in 79 sites across the country to receive complaints and provide legal counseling to the people. (Budget has been given to the Lawyers’ Council to send volunteer lawyers to be stationed at these clinics.) In 2006, the clinics received a total of 1,314 cases of complaints in the three southern border provinces (Pattani, Yala, Narathiwat), which was ranked in the top 10 (3.5% of total complaints nationwide of 37,628 cases). The top 3 of issues complained/counseled most were about the laws under the Department’s responsibility – 1,189 cases (68% of complaints nationwide, 15,308 cases); issues regarding judicial process/trials – 221 cases out of the 8,246 total (12.6%); and issues regarding welfare and utilities – 87 cases (5%). (Data as shown in Table 4 above) Besides, the Department of Probation implemented a project to enhance justice in the southern border provinces (in 2005-2007) by opening channels for complaints or appeals and establishing the Community Justice Network linking the people, the communities working together, with the state providing the support. It was an attempt to raise awareness of the people about the people’s rights and liberties by law. Training for members of the Community Justice Networks were conducted, in 18 batches with 2,395 persons trained. And 9 batches of the training on Network Capacity Building were conducted, with 1,221 persons trained. Besides, 9 batches of training were organized for 854 Community Justice Coordinators, and another 4 batches of training for 308 Community Coordinators. There were eight Community Justice Centres set up in the local area; five seminars were organized among the networks attended by 1,036 persons; 905 complaints were received; and publicity materials were produced, including print media such as brochures and booklets, visual media such as exhibition sets, videos, VCDs and radio documentaries on judicial process. Also, improvement was made on the process to conduct justice attentively, fairly, and extensively, with emphasis on participation, and by intensifying the effectiveness of the judicial process through the following three channels: 1) In normal judicial process, emphasise the application of forensic science to assist in the investigation to resolve cases based on material evidence which can be proved by scientific methods 2) Use more alternative judicial process – e.g. the Community Justice Network Volunteers Project to resolve conflicts at the community/village level, through dispute mediation by committees whose members are people in the respective communities, e.g. Imams (religious leaders), teachers, village headmen, and community volunteers respected by the people, and 3) In the administration of justice, more and wider channels of complaints/appeals were opened to address the problem of justice and fairness not being practiced to all people. A Justice Administration Office in Commemoration of HM the King was set up in every district in the southern border provinces, working under collaboration of the Ministry of Interior and the Ministry of Justice, consisting of the “Damrong Dhamma” or Justice Upholding Centres at provincial level, and equipped with the ‘1880’ emergency hotline phone number, and a postbox to receive complaints. 126 การอํานวยความยุติธรรมกรณีชาวไทยเชื้อสายมลายู เพื่อแกปญหากระบวนการยุติธรรมไมสอดคลองกับศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในพื้นที่อันสงผลให ประชาชนมีความรูสึกวาไมไดรับความเปนธรรม ภาครัฐที่เกี่ยวของจึงไดจัดตั้งหนวยงานระดับปฏิบัติเพื่อสงเสริมการ อํานวยความยุติธรรมใหกับชาวไทยเชื้อสายมลายูใหสอดคลองกับศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณีในพื้นที่ โดย กระทรวงยุติธรรม กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ไดจัดใหมีคลินิกยุติธรรมเพื่อใหบริการประชาชนดวยการรับเรื่องราว รองทุกขและใหคําปรึกษาทางกฎหมาย 79 แหงทัว่ ประเทศ (โดยจัดเงินสนับสนุนใหสภาทนายความสงทนายอาสามา ประจําคลินิก) ในป 2549 ไดรับเรื่องรองเรียนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต (ปตตานี ยะลา นราธิวาส) รวม 1,314 เรื่อง ซึ่งจัดอยูใน 10 ลําดับแรก (รอยละ 3.5 ของเรื่องรองเรียนทั่วประเทศ 37,628 เรื่อง) และเรื่องที่ไดรับการ ปรึกษา/รองเรียนสูงสุด 3 ลําดับแรกคือ กฎหมายที่กรมรับผิดชอบ 1,189 ราย (รอยละ 68 ของเรื่องรองเรียนทั่ว ประเทศ 15,308 ราย) เรื่องเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรม/การพิจารณาคดี 221 ราย จาก 8,246 ราย (รอยละ 12.6) และเรื่องเกี่ยวกับสวัสดิการและสาธารณูปโภค 87 ราย (รอยละ 5) (ขอมูลตามตารางที่ 4 ขางตน) นอกจากนี้ กรมคุมประพฤติก็ไดมีโครงการเสริมสรางความยุติธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต (ป 2548-2550) โดยเปดชองทางในการรองทุกขและสรางเครือขายยุติธรรมชุมชนดวยการทํางานรวมระหวางประชาชน ชุมชน และรัฐ เปนผูสนับสนุนชวยเหลือ เปนการสรางความตระหนักแกประชาชนในเรื่องสิทธิและเสรีภาพตามกฎหมาย โดยมีการ อบรมเครือขายยุติธรรมชุมชน 18 ครั้ง 2,395 คน และอบรมพัฒนาศักยภาพเครือขาย 9 ครั้ง 1,221 คน จัดอบรมผู ประสานงานยุติธรรมชุมชน 9 ครั้ง 854 ราย และอบรมพัฒนาศักยภาพผูประสานงานชุมชน 4 ครั้ง 308 ราย จัดตั้ง ศูนยยุติธรรมชุมชนในพื้นที่รวม8 ศูนย จัดสัมมนาเครือขาย 5 ครั้ง จํานวน 1,036 ราย รับเรื่องราวรองทุกข 905 เรื่อง และผลิตสื่อประชาสัมพันธดวยสื่อสิ่งพิมพ เชน แผนพับและหนังสือ สื่อโสตทัศน เชน ชุดนิทรรศการ วีดิทัศนวิซีดีและ สารคดีทางวิทยุดานกระบวนการยุติธรรม ปรับปรุงกระบวนการเพื่ออํานวยความยุติธรรมอยางจริงจัง ทั่วถึงและ ยุติธรรมโดยเนนการมีสวนรวม เรงรัดประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมดวย 3 ชองทางคือ 1) ในกระบวนการ ยุติธรรมปกติ เนนการใชวิธีการทางนิติวิทยาศาสตรเขาชวยในการสืบสวนสอบสวนคลี่คลายคดีดวยพยานหลักฐานทาง รูปธรรมที่พิสูจนไดดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2) ใชกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมากขึ้น มีโครงการอาสาสมัคร เครือขายยุติธรรมชุมชน ชวยแกไขปญหาความขัดแยงในระดับชุมชน/หมูบานโดยการไกลเกลี่ยขอพิพาทในระดับ หมูบานดวยคณะกรรมการที่มาจากคนในชุมชน ไดแก โตะอิหมาม ครู ผูใหญบานและอาสาสมัครที่คนในชุมชน ยอมรับนับถือ และ 3) ในการอํานวยความยุติธรรม แกปญหาการไมไดรับความเปนธรรมโดยเปดชองทางการรับ เรื่องราวรองเรียนใหมากขึ้นกวางขวางขึ้น มีสํานักงานอํานวยความยุติธรรมเฉลิมพระเกียรติทุกอําเภอในจังหวัด ชายแดนภาคใตทํางานดวยความรวมมือระหวางกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงยุติธรรม มีศูนยดํารงธรรมในระดับ จังหวัด มีโทรศัพทสายดวน 1880 และตู ปณ. รับเรื่องราวรองทุกข